หลักเกณฑ์ 26 โรคเรื้อรัง

เกณฑ์การขึ้นทะเบียนโรคเรื้อรังของสำนักงานประกันสังคม

02

รหัส

01

โรค / ICD - 10

โรคเบาหวาน

(Diabetes mellitus)

E10 – E14

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)

เกณฑ์การขึ้นทะเบียน

1. มีอาการของโรคเบาหวาน ชัดเจนได้แก่ อาการปัสสาวะบ่อย น้ำหนักลดลงร่วมกับ random plasma glucose ≥ 200 mg/dl

2. FPG ≥126 mg/dl (งดอาหารข้ามคืนอย่างน้อย 8 ชั่วโมง)

3. ทำ 75 gm OGTT มีค่า 2h plasma Glucose ≥ 200 mg/dl

4. HbA1C ≥ 6.5 %

ต้องมี (ข้อ 1 หรือ 2,3,4) และ

5. ได้รับการรักษาด้วยยาเบาหวาน

6. ต้องได้รับการตรวจรักษาตามมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการดังนี้

อย่างน้อยปีละครั้ง

- HbA1C

- creatinine

- LDL

- UA หรือ urine protein creatinine ratio

1. ระดับความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure,SBP) ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (diastolic blood pressure,DBP) ≥90 มม.ปรอท โดยวัด 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที ยืนยันว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงจริง

2. ต้องมีการรักษาด้วยยา

3. ต้องได้รับการตรวจรักษาตามมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการดังนี้

อย่างน้อยปีละครั้ง

- Creatinine

- LDL

- UA หรือ urine protein creatinine ratio

1. มีค่าซีรั่ม SGOT (AST) , SGPT (ALT) สูงเกิน 2 เท่าของค่าปกติ

โดยเจาะเลือด 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์

2. ค่า HBsAgให้ผลบวกหรือค่า AntiHCV ให้ผลบวก (กรณีระยะเวลาการตรวจยังอยู่ใน 6 เดือน หลังระยะเฉียบพลันต้องการเจาะเลือดตรวจซ้ำอีกครั้ง 6 เดือน หลังจากวินิจฉัยว่าเป็นไวรัสตับอักเสบแบบเฉียบพลัน)

3. มีการตรวจ Alpha feto protein และ Ultrasound

4. มีการรักษาด้วยยา Antiviral

** ให้รายงานเฉพาะโรคตับอักเสบเรื้อรังจากเชื้อไวรัส Chronic viral hepatitis B, C เท่านั้น

1. พิจารณา clinical เป็นหลักโดยการตรวจร่างกายจะพบอาการที่เกิดจากการสูญเสียการทำงานของตับหลายๆ อย่างร่วมกัน ได้แก่ ในการพิจารณาควรมีหลักฐานบันทึกมากกว่า 3 อย่างขึ้นไป ถ้ามีน้อยกว่า

3 อย่าง ต้องมีผล LFT หรือผล diagnostic imaging ประกอบ)

1.1 jaudice

1.2 spider nevi

1.3 palmar erythema

1.4 gynecomastia,testicular atrophy, decrease of libido

1.5 parotid enlargement

1.6 evidence of portal hypertension เช่น caput medusa, haemorrhoid (รวมถึงอาจเคยทำ endoscopy พบ esophageal หรือ gastric varices)

1.7 ตับเล็ก ม้ามโต จ้ำเลือด

1.8 edema,ascites

1.9 fetor hepaticus ,flapping tremor

2. กรณีพบอาการดังกล่าวข้างต้นน้อยกว่า 3 อย่าง ต้องมีผล LFT ผิดปกติ เช่น biochemical testing พบว่ามี hypoalbuminaemia, reverse A/G ratio หรือ prolong PT เป็นต้น

3. หรือมีผล U/S liver หรือ MRI หรือ CTหรือ direct visualization evidence พบ small sized liver และ/หรือ hypertrophy of caudate lobe ± splenomegaly ± portal hypertension± ascites

4. ตรวจเข้าได้กับลักษณะตับแข็งขณะผ่าตัด

1. มีอาการของโรคหัวใจวาย ได้แก่ เหนื่อยง่าย, นอนราบไม่ได้ บวมเท้า

2. ตรวจร่างกายได้กับ CHF, JVP engorge

(หลอดเลือดที่คอโป่ง,หัวใจโต,ตับไต,ขาบวม)

3. มีหลักฐานว่ามีหัวใจวาย

3.1 การตรวจภาพรังสีทรวงอกพบว่าหัวใจโตหรือมีการคั่งของน้ำในปอด และหรือ

3.2 มีผลการตรวจ 2D Echo พบหลักฐานของ systolic หรือ diastolic ventricular dysfunction

4. ต้องมีการดูแลรักษาภาวะ heart failure ที่เหมาะสม

5. การวินิจฉัยโรคหัวใจวาย

คะแนน

4.86

3.42

3.83

6.02

4.47

0.74

7.10

3.84

8.74

I10 – I15

03A

03B

โรคตับอักเสบเรื้อรัง (Chronic hepatitis)

B18

04

โรคตับแข็ง

(Cirrhosis of liver)

K74

โรคภาวะหัวใจล้มเหลว

(Congestive Heart failure)

I50.0

05

โรคเส้นเลือดสมองแตก /

1. มีประวัตินอนรพ. รักษาโรคเส้นสมองแตกหรืออุดตัน, มีการตรวจร่างกายพบความผิดปกติทางระบบประสาทเข้าได้กับโรคเส้นสมองแตกหรืออุดตันร่วมกับมีหลักฐานทางผลการตรวจทางรังสี (CT Scan หรือ MRI) เพื่อยืนยันการวินิจฉัยว่ามีโรคเส้นเลือดสมองตีบหรือแตก

อุดตัน

2. มีการประเมินปัจจัยเสี่ยงของโรค คือ EKG , CXR , FBS , LDL

ในครั้งแรกที่มีการวินิจฉัย

3. มีการรักษาป้องกันการเกิดโรคซ้ำและมีการรักษาปัจจัยเสี่ยงที่ผิดปกติ

1. มีผลการตรวจทางพยาธิวิทยาอย่างเป็นทางการ (มีพยาธิแพทย์ลงนามกำกับ) ว่าเป็นมะเร็ง หรือมีหลักฐานการวินิจฉัยอย่างอื่นที่บ่งบอกว่าเป็นมะเร็ง เช่น ผล MRI ผล CT หรือผลเลือด หรือมีใบส่งตัวจากรพ.ที่ส่งไปรักษาตอบกลับระบุว่าเป็นมะเร็ง หรือ

2. มีใบเรียกเก็บค่ารักษาจากรพ.ที่ส่งไปรักษา

3. มีการรักษาและติดตามการรักษาโรคมะเร็งนั้น ๆ

1. Lab HIV Antibody ให้ผลบวกโดยวิธีมาตรฐาน

2. ร่วมกับได้รับการรักษาด้วยยา HAART หรือ ยาป้องกันโรคแทรกซ้อน(opportunistic infection)

3. มีการเจาะ CD4 + Viral load

1. ผู้ป่วยมีอาการไอ มีเสมหะ หอบเหนื่อยขณะออกกำลังกาย โดยมีอาการเป็นเดือนหรือเป็นปี และมีการกำเริบ (exacerbation) เป็นระยะ ต่อมาความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง จนทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้

2. ตรวจร่างกายฟังได้ wheezing ทรวงอกมีลักษณะ barrel chest

มีการใช้ accessory muscles ช่วยหายใจ

3. ยืนยันการวินิจฉัยด้วยภาพรังสีทรวงอก พบลักษณะของ Emphysema และหรือ ตรวจ pulmonary function test พบลักษณะ airflow obstruction โดยมีการลดลงของ FEV1 ทำให้อัตราส่วน FEV1/FVC ลดต่ำกว่า 70%

1. Chronic renal failure หมายถึงความผิดปกติของไต เช่น micro -และ macroproteinuria ความผิดปกติของ sediment ความผิดปกติของผลการตรวจเลือดหรือปัสสาวะ ความผิดปกติของ ภาพรังสีไตมานานมากกว่า 3 เดือน แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้

06

(Cerebrovascular accident) I69

โรคมะเร็ง

(Malignancy)

C00 – C97

07

โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS)

B20 – B24

08

โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema)

J43

09

โรคไตวายเรื้อรัง

(Chronic renal failure) N18

11

10

โรคพาร์กินซั่น (Parkinson's disease) G20 – G22

โรคมายแอสทีเนีย เกรวิส(Myasthenia gravis)

2. เกณฑ์การชดเชยไตเสื่อมตั้งแต่ ระดับ 3 ขึ้นไป ซึ่งมีอัตรากรองของไต GFR น้อยกว่า 60 ml/minเป็นเวลา 3 เดือน และหรือมีผลตรวจ Ultrasound ไต (ถ้ามี)

3. ต้องมีการรักษาภาวะแทรกซ้อนจากไตวายร่วมด้วย เช่น anemia, hyperphosphatemia, hyperkalemia, hypocalcemia, metabolic acidosis tertiary hyperparathyroidism

1. อาการเคลื่อนไหวช้า (bradykinesia) ร่วมกับอาการอย่างน้อย 1 ข้อดังต่อไปนี้

1.1 อาการสั่น ขณะอยู่เฉย (resting tremor)

1.2 อาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (rigidity)

1.3 ความผิดปกติของการทรงตัว (postural instability)

และมีอาการสนับสนุนอย่างน้อย 3 อาการ ดังต่อไปนี้

1) อาการเริ่มต้นจากข้างใดข้างหนึ่ง

2) อาการสั่นขณะอยู่เฉย

3) มีการดำเนินของโรคมากขึ้นเรื่อยๆ

4) อาการข้างที่เริ่มก่อนมีอาการดำเนินมากกว่าอีกข้าง

5) ตอบสนองต่อการรักษาด้วยกลุ่มยา levodopa

6) มีอาการ dyskinesia เมื่อได้รับกลุ่มยา levodopa ขนาดสูง

7) มีการตอบสนองที่ดีต่อกลุ่มยา levodopa นานกว่า 5 ปี

8) มีการดำเนินโรคนานกว่า 10 ปี

ส่วนการวินิจฉัย Parkinsonism ที่มีสาเหตุ ได้แก่

- Drug-induced

- Tumor

- Infection

- Vascular

- Hydrocephalus

- Toxin

Other neurodegenerative disorder เช่น Wilson”s disease Alzheimer”s disease

1. มีอาการกล้ามเนื้อลายอ่อนแรง ได้แก่ หนังตาตก เห็นภาพซ้อน

พูดไม่ชัด กลืนลำบาก แขน ขาอ่อนแรง หายใจลำบาก โดยที่อาการเป็นมากขึ้นในช่วงบ่ายหรือการออกแรงซ้ำๆ

2. มีการตรวจยืนยัน โดยการตรวจดังต่อไปนี้ อย่างใดอย่างหนึ่ง

- Tensilon test

- Electromyographic test

- Repetitive nerve stimulation test

3. ตรวจพบ Antibodies ต่อ acetylcholine receptor

4. ได้รับการรักษาด้วยยา

1. ปัสสาวะออกมากกว่า 3,000 มล./24 ชั่วโมง (polyuria)

2. Urine specific gravity >1.010

3. ไม่มีโรคที่ทำให้ปัสสาวะมาก เนื่องจาก osmetic diuresis ได้แก่ เบาหวาน โรคไต หรือได้รับ osmotic agents

4. Water deprivation test พบว่ามี urine osmolality/serum osmolatity น้อยกว่า 1

5. ตอบสนองต่อ desmopressic มากกว่า 9% เมื่ออยู่ในภาวะ maximumdehydration

6. ได้รับการรักษาด้วยยา

1. มีอาการตามองไม่เห็น ประสาทสมองอ่อนแรง แขน – ขา อ่อนแรงครึ่งซีก หรือขาสองข้างชาและอ่อนแรง กลั้นปัสสาวะ อุจจาระไม่ได้ อาการเหล่านี้มักเป็นแล้วเป็นอีก

2. การตรวจ MRI brain and spinal cord with gadolinium enhancement พบรอยโรคหลายแห่งในสมองและไขสันหลัง

3. ได้รับการรักษาด้วยยา

พิจารณาให้ยาไขมันกลุ่ม Cholesterol / LDL สูง ในกรณี

1. บุคคลทั่วไป

1.1 ผู้ที่มีอายุมากกว่า 21 ปี และไม่เป็นเบาหวาน , ไต LDL>190 (เป้าหมายลดลงให้ต่ำกว่า 130)

1.2 ผู้ที่มีอายุมากกว่า 35 ปี ขึ้นไป และไม่เป็นเบาหวาน ประเมิน

มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยแบบประเมิน (Thai CV Risk Score) ใน 10 ปี >ร้อยละ 10

1.3 ผู้ป่วยที่มี (Thai CV Risk Score) น้อยกว่าร้อยละ 10 และ

มีหลักฐาน Subclinical atherosclerosis , coronary calcium score>300 ,

Agatston units, ankle – brachial index <0.9

มีประวัติครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ (ผู้ชาย 55 ปี ผู้หญิงก่อน 60 ปี)

และมีการอักเสบเรื้อรัง เช่น Psoriasis , Rheumatoid, HIV

2. ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน

2.1 ผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ระดับ LDL>100

2.2 ผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 40 ปี ที่มีความเสี่ยง 2 ข้อขื้นไป เช่น

- สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง

- ประวัติครอบครัวมีโรคหลอดเลือดก่อนวันอันควร ไมโครอัลบูมินยูเรีย LDL>100

3. ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

3.1 ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปี ขึ้นไป และมี GFR <60 จะได้รับยาเมื่อ LDL>100

3.2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ควรได้รับยา statin

โดยไม่สนใจระดับ LDL

4. การป้องกันทุตยภูมิ

4.1 ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ รักษาเมื่อ LDL>70

4.2 ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองหรือสมองขาดเลือดชั่วคราวที่ไม่ได้เกิดจากลิ่มเลือดหัวใจ รักษาเมื่อ LDL เกิน 100

5. Ezetimibe

5.1 ไม่ใช้ ezetimibe ขนานเดียว เพื่อลดระดับ LDL – C ควรจะต้องใช้ร่วมกับยากลุ่ม statin เสมอ ยกเว้น ในกรณีที่เกิดผลไม่พึงประสงค์จาก statin หลายชนิด

5.2 ใช้ ezetimibe ร่วมกับ statin ในกรณีดังนี้

5.2.1 ในกรณีที่ได้รับ high intensity statin แล้วเป็นระยะเวลานานอย่างน้อย 6 เดือน แต่ระดับ LDL-C ยังไม่ได้เป้าหมายในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ทั้งในการป้องกันแบบทุติยภูมิและปฐมภูมิ

5.2.2 ในผู้ป่วยที่ได้รับ statin แล้วมีผลไม่พึงประสงค์จากยาทำให้ต้องลดขนาดยา statin ลงและเป็นเหตุให้ระดับ LDL – C ยังไม่ได้เป้าหมาย ทั้งในการป้องกันแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ

6. ได้รับการรักษาด้วยยา

7. ต้องได้รับการเจาะ LDL อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

พิจารณาให้ยาไขมันกลุ่มที่ Triglycerides สูง ในกรณี

Fibrate

1. พิจารณาเริ่มกลุ่มยา fibrate เพื่อป้องกันการเกิดตับอ่อนอักเสบ

-ในกรณีที่มีระดับ triglycerides≥500 มก./ดล.

-ยกเว้นในผู้ป่วยไตเสื่อม eGFR< 60 มล./นาที/1.73 ตร.ม.

อาจพิจารณาเริ่มยาเมื่อระดับ triglycerides ≥1,000 มก./ดล.(คำแนะนำ + คุณภาพของหลักฐานระดับ 2)

2. ผู้ที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสูง

เช่น เบาหวานที่มีระดับไขมัน triglycerides ≥200 มก./ดล. ร่วมกับไขมัน HDL C <_35 มก.ต่อ ดล.

น่าจะพิจารณาให้ยากลุ่ม fibrate ร่วมกับยา statin เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด

(คำแนะนำระดับ+คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)

3. ไม่ควรใช้ gemfibrozil ร่วมกับ statin

4. การใช้ fibrate ต้องคำนึงถึงการทำงานของไต (eGFR)

5. ได้รับการรักษาด้วยยา

6. ต้องได้รับการเจาะ TG อย่างน้อย1ครั้งต่อปี

หมายเหตุ : ในรายผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนใหม่ จะต้องเข้าเกณฑ์การ

ขึ้นทะเบียนและมีการรักษา

1. ต้องมี 4 ใน 7 ข้อต่อไปนี้

1) มีข้อฝืดตึงตอนเช้ามากกว่า 1 ชั่วโมง

2) มีข้ออักเสบมากกว่า 3 แห่ง จาก 14 แห่ง ได้แก่ ข้างซ้ายและขวา ของข้อกลางนิ้วมือ ข้อโคนนิ้วมือ ข้อมือ ข้อศอก ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อโคนนิ้วเท้า

3) มีข้อมือ หรือข้อโคนนิ้วมือ หรือข้อกลางนิ้วมืออักเสบ

4) มีข้ออักเสบแบบสมมาตร

5) พบ rheumatoid nodule

6) Serum rheumatoid factor เป็นผลบวก

7) พบการเปลี่ยนแปลงจากภาพเอกซเรย์เข้าได้กับโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ โดย X-ray ที่ข้อมือทั้ง 2 ข้างในท่า PA view พบ bone erosion,joint space narrowing หรือ periarticular osteopenia

2. ได้รับการรักษาและรับยา

0.74

5.94

0.87

17.17

0.37

4.69

4.62

5.33

6.39

5.68

0.27

1.25

3.34

1.70

3.74

2.02

2.02

G70

12

โรคเบาจืด

(Diabetes insipidus) E23.2 , N25.1

13

โรคมัลติเพิล สเคลอโรสิส (Multiple sclerosis)

G35

14

โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)

E78

16

15

โรคข้ออักเสบรูห์มาตอยด์

(Rheumatoid arthritis) M05 – M06

โรคต้อหิน

1. Optic disc มี cupping ผิดปกติ (0.4 – 0.6) เช่น กว้างกว่าปกติ,

มี notching, มี asymmetrical ของ cupping หรือ

2. Retinal nerve fiber layer loss หรือ

3. ลานสายตาผิดปกติ (Glaucoma field loss) หรือ

4. ความดันตาผิดปกติ (OHT)

ทั้งนี้ถ้ามี 2 ใน 4 ข้อ ก็ให้พิจารณาให้การรักษาได้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ผู้ตรวจรักษา

5. กรณีผู้ป่วยได้รับการทำ Laser แล้วแต่ยังไม่หายขาดและยังคงได้รับการหยอดยาต้อหิน

1. มีอาการบวมทั่วตัว

2. มีโปรตีนในปัสสาวะมากว่า 3.5 กรัมต่อเดซิลิตรหรือ Urine Protein ต่อ Urine Creatinine มากกว่า 3 ในกรณีสุ่มปัสสาวะตรวจ

3. มีคลอเลสเตอรอลในเลือดสูงมากกว่า 200 มก.ต่อเดซิลิตร

4. มี Serum albumin ต่ำกว่า3กรัม ต่อเดซิลิตร

5. ได้รับการรักษาและรับยา

1. เกณฑ์วินิจฉัย อย่างน้อย 4 ใน 11 ข้อต่อไปนี้

A. Malar rash : ผื่นแดงราบหรือนูนบริเวณโหนกแก้ม

B. Discoid rash : ผื่นแดงขอบเขตชัดเจนนูนมีสะเก็ด

C. Photosensitivity : เป็นผื่นไวต่อแสงมากผิดปกติ

D. Oral ulcer : เป็นแผลในปากหรือบริเวณ nasopharynx

E. Arthritis : ข้ออักเสบมากกว่า 2 ข้อแต่ไม่มีลักษณะกระดูกกร่อน (Erosion) ในภาพรังสี

F. Serositis : มีเยื่อหุ้มปอดอักเสบ หรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ

G. Renal disorder

a) ตรวจพบ Proteinuria มากกว่า 0.5 กรัม ต่อวันหรือมากกว่า 3+

b) มี Cellular Cast ในปัสสาวะซึ่งอาจเป็นเม็ดเลือดแดง Hemoglobin , Granular , Tubular หรือหลายชนิดร่วมกัน

H. Nervous System

a) ชัก โดยไม่มีสาเหตุอื่น เช่น จากยา หรือความผิดปกติ ทาง Metabolism

b) Psychosis โดยไม่มีสาเหตุอื่น เช่น จากยา หรือ ความผิดปกติ

ทาง Metabolism

I. Blood

a) Hemolytic Anemia

b) WBCต่ำกว่า 4,000 เซลล์/มม3

c) Lymphocyte ต่ำกว่า 1,500 เซลล์/มม3

d) Platelet ต่ำกว่า 100,000 เซลล์/มม3

J. Immunology

a) ตรวจพบ Anti-native DNA (ds-DNA)

b) ตรวจพบ Anti-SM Antibody

c) ตรวจพบ Antiphospholipid Antibody

K. Antinuclear Antibody :

พบ Antinuclear Antibody ด้วยวิธี Immunofluorescence

2. ในกรณีที่ผู้ป่วยย้ายสิทธิมารักษาต่อเนื่องที่รพ.อื่น ให้แสดงหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ใบ Refer ผลเลือด/ผลการตรวจร่างกาย หรือแพทย์มีการบันทึกการตรวจร่างกาย / ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

และมีการรักษาที่เข้าได้กับโรคลูปัส (SLE)

1. จากการตรวจนับเม็ดเลือดครบ (CBC, complete blood count)

พบความผิดปกติต่อไปนี้ 2 ใน 3 ข้อ ได้แก่

a. ระดับฮีโมโกลบินต่ำกว่า 10 กรัมต่อเดซิลิตร

b. จำนวนเกล็ดเลือดต่ำกว่า 50,000 ตัวต่อไมโครลิตร

c. จำนวนเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิลล์ ต่ำกว่า 1,500 ตัวต่อไมโครลิตร และ

2. การตรวจไขกระดูกโดยการตัดชิ้นเนื้อไขกระดูกส่งตรวจทางพยาธิวิทยา พบจำนวนเซลล์ในไขกระดูกลดลง (hypocellular marrow) ร่วมกับไม่พบเซลล์เม็ดเลือดที่ผิดปกติ และไม่มีพังผืดในไขกระดูก

** เกณฑ์สำหรับโรคเลือดพลาสติคชนิดรุนแรง (ต้องมีทั้ง 2 ข้อ)

1. มีภาวะโลหิตจางและมีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ด้วยการตรวจ Hemoglobin electrophoresis พบโรค Thalassemia ยกเว้นกรณีผลเลือดเป็น Thalassemia Trait

1. มีภาวะเลือดออกง่าย และมีระดับ factor VIII หรือ factor IX ต่ำ

2. ได้รับการดูแลรักษาและรับยา

1. เป็นตุ่มและแผ่นสีแดงมีขอบชัดเจน

- มีสะเก็ดสีเงินหนา

- Auspitz's sign ให้ผลบวก

- ผลชิ้นเนื้อเข้าได้กับโรค Psoriasis

2. ได้รับการดูแลรักษาและรับยา

1. มีถุงน้ำนุ่ม หรือ แผลสะเก็ด + / - แผลที่ปาก

2. Tzanck's smear พบ Acantholytic cells

3. ทำ Direct Immunofluorescence พบ lgA สะสมภายในเซลล์

4. ได้รับการรักษาด้วยยา

1.เป็นถุงน้ำตึงขนาดใหญ่บนผิวหนังที่ปกติ หรือมีฐานสีแดง

2.Tzanck’ s smear พบ Eosinophil แทรกอยู่

3. ตัดผิวหนัง (Skin Biopsy) พบการแยกในชั้นใต้ผิวหนังกำพร้าร่วมกับ

มีเซลล์ Eosinophil แทรกอยู่

4. ทำ Direct immunofluorescence พบการสะสมของ C3 + / - IgA

เป็นแนวที่ basement membrance

5. ได้รับการรักษาด้วยยา

1. เป็นตุ่มน้ำตึงใสขึ้นเป็นกลุ่มตามบริเวณ Extensor Surface ของร่างกาย หายแล้วเหลือรอยขาวและดำอยู่

2. มีอาการคัน

3. ผลชิ้นเนื้อย้อม H&E เข้าได้กับโรค Dermatitis Herpetiformis

4. ผลชิ้นเนื้อย้อม Immunopathology เข้าได้กับโรค ermatitisHerpetiformis

5. ได้รับการรักษาด้วยยา

1. เป็นตุ่มน้ำรูปยาวรีหรือกลม แตกแล้วให้รอยถลอก ขึ้นไดทั่วตัว

2. อาจพบมีแผลหรือรอยถลอกในปาก

3. ผลชิ้นเนื้อย้อม H&E เข้าไดักับโรค Linear IgA dermatitis

4. ผลชิ้นเนื้อย้อม Immunopathology เข้าได้กับโรค Linear IgA Dermatosis

5. ได้รับการรักษาด้วยยา

1. เป็นตุ่มน้ำตึงพองใสบนพื้นแดงหรือผิวหนังปกติ หายแล้วเกิดแผลเป็น หรือ milia พบบ่อยบริเวณหลังมือ 2 ข้าง หรือขึ้นได้ทั่วตัว

2. อาจพบแผลหรือรอยถลอกในปาก ตาอักเสบ

3. ผลชิ้นเนื้อย้อม H&E เข้าไดักับโรค Epidermolysis Bullosa Acquisita

4. ได้รับการรักษาด้วยยา

1. เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 ตัวต่อไมโครลิตร โดยจำนวนเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวปกติ (ยกเว้นกรณีมีเลือดออกจากเกล็ดเลือดต่ำ สามารถตัวพบจำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าปกติได้)

2. ไม่มีสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้เกล็ดเลือดต่ำ เช่น ยา การติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ ภาวะลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือด (DIC, disseminated intravascular coagulation)ภาวะ hypersplenism เป็นต้น

3. ตรวจไขกระดูกจำนวน megakaryocyte ปกติ หรือ เพิ่มขึ้น และมีลักษณะปกติและไม่พบความผิดปกติของเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในไขกระดูก

4. ในกรณีที่เป็น Chronic ITP หรือ Recurrent และมีการรักษา อาจไม่มีผล Bone marrow

5. มีการติดตามการรักษาและมีการรักษา

(Glaucoma )

H40 , H42

18

17

โรคไต เนฟโฟรติค (Nephrotic syndrome) N04

โรคลูปัส

(SLE )

M32

20

19

โรคเลือดอะพลาสติค (Aplastic anemia)

D61

โรคทาลัสซีเมีย (Thalassemia)

D56 (ยกเว้น D56.3)

21

โรคฮีโมฟิลเลีย (Hemophilia)

D66

22

โรคเรื้อนกวาง

(Psoriasis)

L40

23

23A

23B

23C

23D

23E

24

โรคผิวหนังพุพองเรื้อรัง (Chronic vesiculobullous disease)

Pemphigus (L10)

Pemphigoid (L12)

Dermatitis herpetiformis (L13)

Linear IgA Dermatosis (L13.8)

Epidermolysis BullosaAcquisita

(L12.3)

โรคเลือด ไอทีพี

(ITP)

D69.3

25

โรคต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ(Thyrotoxicosis)

1. มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเข้าเกณฑ์ภาวะ hyperthyroidism (มีค่าระดับ ธัยรอยด์ฮอร์โมนสูงตัวใดตัวหนึ่ง เช่น FT3 และ/หรือ FT4 สูงกว่าค่าปกติ ร่วมกับมี TSH ต่ำกว่าค่าปกติ

26

E05

2. มีการรักษาภาวะ hyperthyroidism ด้วยยา

3. ยกเว้นภาวะ hyperthyroidism ที่รักษาหายแล้วด้วย radioactive iodine therapy

- ได้รับการวินิจฉัยจากจิตแพทย์หรือมีหลักฐานการวินิจฉัยร่วมกับ

มีการรักษาด้วยยา

โรคจิต

(Schizophrenia /

Delusional disorders)

F20 – F29

1...DM

1. มีอาการของโรคเบาหวาน ชัดเจน

ได้แก่ อาการปัสสาวะบ่อย น้ำหนักลดลงร่วมกับ random plasma glucose ≥ 200 mg/dl

2. FPG ≥126 mg/dl (งดอาหารข้ามคืนอย่างน้อย 8 ชั่วโมง)

3. ทำ 75 gm OGTT มีค่า 2h plasma Glucose ≥ 200 mg/dl

4. HbA1C ≥ 6.5 %

ต้องมี (ข้อ 1 หรือ 2,3,4) และ

5. ได้รับการรักษาด้วยยาเบาหวาน

6. ต้องได้รับการตรวจรักษา ตามมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการดังนี้

อย่างน้อยปีละครั้ง

- HbA1C

- creatinine

- LDL

- UA หรือ urine protein creatinine ratio

2...HT

1. ระดับความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure,SBP) ≥ 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (diastolic blood pressure,DBP) ≥90 มม.ปรอท โดยวัด 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที

ยืนยันว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงจริง

2. ต้องมีการรักษาด้วยยา

3. ต้องได้รับการตรวจรักษาตามมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการดังนี้

อย่างน้อยปีละครั้ง

- Creatinine

- LDL

- UA หรือ urine protein creatinine ratio

3...Hepatitis

1. มีค่าซีรั่ม SGOT (AST) , SGPT (ALT) สูงเกิน 2 เท่าของค่าปกติ

โดยเจาะเลือด 2 ครั้งห่างกัน 4 สัปดาห์

2. ค่า HBsAgให้ผลบวก หรือ ค่า AntiHCV ให้ผลบวก

(กรณีระยะเวลาการตรวจยังอยู่ใน 6 เดือน

หลังระยะเฉียบพลันต้องการเจาะเลือดตรวจซ้ำอีกครั้ง 6 เดือน

หลังจากวินิจฉัยว่าเป็นไวรัสตับอักเสบแบบเฉียบพลัน)

3. มีการตรวจ Alpha feto protein และ Ultrasound

4. มีการรักษาด้วยยา Antiviral

** ให้รายงานเฉพาะโรคตับอักเสบเรื้อรังจากเชื้อไวรัส Chronic viral hepatitis B, C เท่านั้น

14....DLD

พิจารณาให้ยาไขมันกลุ่ม Cholesterol / LDL สูง ในกรณี

1. บุคคลทั่วไป

1.1 ผู้ที่มีอายุมากกว่า 21 ปี และไม่เป็นเบาหวาน , ไต LDL>190 (เป้าหมายลดลงให้ต่ำกว่า 130)

1.2 ผู้ที่มีอายุมากกว่า 35 ปี ขึ้นไป และไม่เป็นเบาหวาน ประเมิน

มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยแบบประเมิน (Thai CV Risk Score) ใน 10 ปี >ร้อยละ 10

1.3 ผู้ป่วยที่มี (Thai CV Risk Score) น้อยกว่าร้อยละ 10 และ มีหลักฐาน Subclinical atherosclerosis , coronary calcium score>300 , Agatston units, ankle – brachial index <0.9 มีประวัติครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ (ผู้ชาย 55 ปี ผู้หญิงก่อน 60 ปี) และมีการอักเสบเรื้อรัง เช่น Psoriasis , Rheumatoid, HIV

2. ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน

2.1 ผู้ที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ระดับ LDL>100

2.2 ผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 40 ปี ที่มีความเสี่ยง 2 ข้อขื้นไป เช่น

- สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง

- ประวัติครอบครัวมีโรคหลอดเลือดก่อนวันอันควร ไมโครอัลบูมินยูเรีย LDL>100

3. ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

3.1 ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปี ขึ้นไป และมี GFR <60 จะได้รับยาเมื่อ LDL>100

3.2 ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ควรได้รับยา statin โดยไม่สนใจระดับ LDL

4. การป้องกันทุตยภูมิ

4.1 ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ รักษาเมื่อ LDL>70

4.2 ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองหรือสมองขาดเลือดชั่วคราวที่ไม่ได้เกิดจากลิ่มเลือดหัวใจ รักษาเมื่อ LDL เกิน 100

5. Ezetimibe

5.1 ไม่ใช้ ezetimibe ขนานเดียว เพื่อลดระดับ LDL – C ควรจะต้องใช้ร่วมกับยากลุ่ม statin เสมอ ยกเว้น ในกรณีที่เกิดผลไม่พึงประสงค์จาก statin หลายชนิด

5.2 ใช้ ezetimibe ร่วมกับ statin ในกรณีดังนี้

5.2.1 ในกรณีที่ได้รับ high intensity statin แล้วเป็นระยะเวลานานอย่างน้อย 6 เดือน แต่ระดับ LDL-C ยังไม่ได้เป้าหมายในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ทั้งในการป้องกันแบบทุติยภูมิและปฐมภูมิ

5.2.2 ในผู้ป่วยที่ได้รับ statin แล้วมีผลไม่พึงประสงค์จากยาทำให้ต้องลดขนาดยา statin ลงและเป็นเหตุให้ระดับ LDL – C ยังไม่ได้เป้าหมาย ทั้งในการป้องกันแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ

6. ได้รับการรักษาด้วยยา

7. ต้องได้รับการเจาะ LDL อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

พิจารณาให้ยาไขมันกลุ่มที่ Triglycerides สูง ในกรณี

Fibrate

1. พิจารณาเริ่มกลุ่มยา fibrate เพื่อป้องกันการเกิดตับอ่อนอักเสบในกรณีที่มีระดับ

triglycerides≥500 มก./ดล. ยกเว้นในผู้ป่วยไตเสื่อม eGFR< 60 มล./นาที/1.73 ตร.ม.

อาจพิจารณาเริ่มยาเมื่อระดับ triglycerides ≥1,000 มก./ดล.(คำแนะนำ + คุณภาพของหลักฐานระดับ 2)

2. ผู้ที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือ มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสูง เช่น

เบาหวานที่มีระดับไขมัน triglycerides ≥200 มก./ดล. ร่วมกับไขมัน HDL C <_35 มก.ต่อ ดล.

น่าจะพิจารณาให้ยากลุ่ม fibrate ร่วมกับยา statin เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (คำแนะนำระดับ+คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)

3. ไม่ควรใช้ gemfibrozil ร่วมกับ statin

4. การใช้ fibrate ต้องคำนึงถึงการทำงานของไต (eGFR)

5. ได้รับการรักษาด้วยยา

6. ต้องได้รับการเจาะ TG อย่างน้อย1ครั้งต่อปี

หมายเหตุ : ในรายผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนใหม่ จะต้องเข้าเกณฑ์การ

ขึ้นทะเบียนและมีการรักษา

20....Thalassemia

1. มีภาวะโลหิตจางและ

2. มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

ด้วยการตรวจ Hemoglobin electrophoresis พบโรค Thalassemia

ยกเว้น กรณีผลเลือดเป็น Thalassemia Trait