Takt time

Takt Time แท็คไทม์ เทกไหม์

มาจากภาษาเยอรมัน แปลว่า จังหวะดนตรี

คือ ระยะเวลาเฉลี่ยในการผลิตต่อ 1 หนึ่งหน่วยชิ้นงาน/บริการ

หมายความว่า เป็นระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นผลิดในสถานีนั้น ถึงจุดเริ่มต้นผลิดในหน่วยถ้ดไป

แต่ละสถานี มี takt time ของแต่ละสถานี

Takt Time เป็นเครื่องสะท้อนถึงอัตราการผลิดที่จำเป็นเพื่อให้ตรงกับความต้องการ

เช่น เวลาทำงานจริง 8 ชั่วโมง ต่อ ชิ้นงาน/ตรวจผู้ป่วย 20 คน

เท่ากับ 480/20 = 24 นาที เป็นค่าเวลาเฉลี่ย

Cycle time = takt time แต่ละสถานีรวมกัน

ประโยชน์

แต่ละสถานี ผลิตได้ตามเวลาที่กำหนด ทำให้การไหลมีความต่อเนื่อง continuous flow

ถ้าสถานีไหนเกิดใช้เวลานาน จะทำให้เกิดคอขวด

การคำนวน Takt Time

ระยะเวลาในการผลิดที่ควรจะเป็น = ระยะเวลาจริงในการทำงานของพนักงาน / ด้วยจำนวนชิ้นงานที่ต้องการตอวัน

T/T = ระยะเวลาทำงานแต่ละชิ้น ในขั้นตอนนั้น

การนำมาใช้

เมื่อคำนวน T/T คราวๆแล้วนำมาดูในกระบวนการ

แต่ละขั้นตอน หากขั้นตอนไหนกระบวนการนานกว่า T/T

ก็ตัดทอนโดยลดกระบวนบางส่วนไปอยู่ในสถานีที่ใช้

T/T สั้นกว่า

สามารถนำมาใช้ได้โดยดูจากกราฟ Yamazumi Chart

ทำให้ลดสถานีได้

ทำให้ลดคอขวด

ทำให้ลดเวลาบางสถานีที่เหลือลงได้

ปัญหาสำคัญ คือ Takt time นำมาใช้ในกระบวนการผลิด

จะมีการทำงานตลอดเวลาทำให้กำหนด Takt Time ได้ง่าย

แต่งานโรงพยาบาลเป็นงานบริการ การกำหนดทำได้ยาก

เนื่องจากผู้รับบริการการมีความซับซ้อน

ต้องดูความเหมาะสมในการนำมาใช้

เช่น การนำคิวมาช่วยกำหนด ระยะเวลาเป็นต้น

ตัวอย่าง

Yamazumi Chart

http://www.thaiauto.or.th/ContentImages/TPS/Case3.pdf