I-1.2 ก3 Clinical Goverment

I-1.2 ก(3) Clinical Goverment

WHAT:

เป็นแนวทางที่เป็นระบบในการสร้างหลักประกันคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพ

ในองค์กร เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยมีผลลัพธ์ดี และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

เป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลงสู่วัฒนธรรมการเรียนรู้ที่ซึมซับเข้าในทุกส่วนของ

องค์กร ในทุกงานที่ปฏิบัติ

เพิ่มเติม

เช่น มีการผ่าตัดหัวใจแล้วผู้ป่วยเสียชีวิต CG ในส่วนของ Board ต้องดูด้านคุณภาพด้วย

ไม่ใช่ดูแต่ด้านการเงินอย่างเดียว

WHY:

ที่ผ่านมาระบบกำกับดูแลกิจการรับผิดชอบเฉพาะด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดูแล

ผู้ป่วย ทำให้ความพยายามในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยยังได้ผลไม่เต็มที่

HOW: วิธีการ

• การประสานกลไกต่างๆ ที่มีอยู่, การพัฒนาความรู้ความสามารถของ

ผู้เกี่ยวข้อง, engage ผู้ประกอบวิชาชีพโดยไม่สร้างความรู้สึกถูกคุกคาม

เพิ่มเติม : การประสานที่ effective คือ การส่งเสริม Learning หรือ Study

โดยไม่ให้รู้ว่าถูกตรวจสอบ คือ การตรวจสอบโดยไม่รู้สึกถูกคุกคาม เพื่อป้องกันการซุกไว้ใต่้พรม

• การเสริมสร้างวัฒนธรรม ที่ส่งเสริมการเรียนรู้และความปลอดภัย

เพิ่มเติม : ส่งผลสูงสุดที่ควรทำ

Frame Work of Clinical goverment

-Education and Training เป็นการเตรียมคนให้พร้อม

-Clinical audit ทบทวนคุณภาพการดูแล

-Clinical effectiveness ใช้ evidence base ในแผนการดูแลผู้ป่วย

-Research and develpoment วิจัยและพํฒนา หรื R2R

-Openness เปิดใจ เปิดเผยกันเอง กับ เปิดเผยภายนอก(แต่ต้องระวังทำอย่างไรไม่มีการฟ้องร้อง)

-Risk management

A framework through which

healthcare organisations are

accountable for continually

improving the quality of their

services and safeguarding

high standards of care by

creating an environment in

which excellence in clinical

care will flourish.

Three key attributes:

• recognisably high standards of care,

• transparent responsibility and accountability for those standards,

• and a constant dynamic of improvement

Clinical Governance

HOW:

• โครงสร้างกำกับดูแล มีคณะกรรมการระดับสูงรับผิดชอบในการกำหนดทิศทาง

นโยบาย ติดตามประเด็นคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วยของทั้ งองค์กร

และตอบสนองอย่างเหมาะสม

• โครงสร้างกำกับดูแลที่เป็นไปได้

- คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการขององค์กรดูทั้งด้าน corporate & clinical

- คณะกรรมการกำกับดูแลทางคลินิกซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารร่วมกับ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก(มาร่วมกับ board)

- คณะกรรมการกำกับดูแลทางคลินิกที่มาจากผู้บริหารขององค์กรซึ่งสามารถ

กำกับดูแลได้ทั้งองค์กร (สำหรับองค์กรขนาดใหญ่)

- คณะกรรมการกำกับดูแลทางคลินิกซึ่งเป็นตัวแทนของ สสจ.และ รพ.ชุมชน ที่

กำกับดูแล รพ.ชุมชนในจังหวัดทั้งหมด

• กลไกสำคัญคือการรายงานสรุปความสำเร็จและแผนที่ต้องดำเนินการต่อ และ

กลั่นกรองสิ่งที่ต้องเสนอขึ้นไปเป็นลำดับขั้น

เพิ่มเติม

ลักษณะ CGจะเป็นรูปแบบไหนก็ได้

ประเด็นสำคัญคือ โครงสร้างที่ต้อง work ไม่ใช่รายงานแบบศาลพระภูมิแล้วเราก็มาจัดการกันเองเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น

องค์ประกอบ CG

1.Clinical Effectiveness:

• ค้นหาและประเมินข้อมูลวิชาการ (Evidence base)

• น าข้อมูลวิชาการมาปฏิบัติ (ติดตาม)

• ติดตามประเมินผลโดยใช้การทบทวนทางคลินิกและเสียงสะท้อนจาก

ผู้ป่วย

2.Risk Management Effectiveness:

• การป้องกันความเสี่ยง (ระบบงาน[HR], mindset, mindfulness[การให้กำลังใจ])

• การรายงานอุบัติการณ์ เรียนรู้และตอบสนอง (นำมาปรับกระบวนการ)

3.Patient Experience: ใช้ PE มากำกับการดูแลทางคลินิก

• Survey(ระบบรับคำร้องเรียน), interview, patient diaries(ให้ผู้ป่วยสะท้อนความรู้สึก), focus groups, patient tracking,

patient shadowing, patient journey map, consultation

• Complaint management & learning

4 Communication Effectiveness:

• Staff & patient, การเปิดเผยข้อมูล

• Staff & the organization

5 Resource Effectiveness:

• Best use of all available resources

• การจัดการสารสนเทศ (เน้นคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย รับรู้ปัญหาและติดตามได้)

• Eliminate waste in time, money, supplies, equipment & facilities

6 Strategic Effectiveness: เชื่ยมโยงกับการวางแผน เช่น หมวด 2 สัมพันธ์กับ ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย

• Clinical quality & governance is a part of org planning & direction

7 Learning Effectiveness:

• การศึกษาและฝึกอบรมต่อเนื่องของผู้ประกอบวิชาชีพ

• การผลิต/ร่วมผลิตบุคลากร

• มีการเรียนรู้จากบทเรียนต่างๆ : คำร้องเรียน อุบัติการณ์ เสียงสะท้อน การวิจัยและพัฒนา

• เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรรมการกำกับดูแลทางคลินิก

(มุมมองจาก gov body มี 4 บทบาท จะได้คะแนน 5 ถ้าทำได้ครบ)

Strategy Formulation:

• ให้ความเห็นชอบต่อกลยุทธ์คุณภาพและความปลอดภัยทางคลินิก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง

ของกลยุทธ์องค์กร

Policy Making:

• สนับสนุนวัฒนธรรมความปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพ การมุ่งสู่ความเป็นเลิศ และ

สร้างองค์กรที่ประสบความสำเร็จ

• ให้ความเห็นชอบต่อนโยบายคุณภาพและความปลอดภัยทางคลิน ิกขององค์กร

• ให้ความเห็นชอบต่อแผนพัฒนาคุณภาพและแผนบริหารความเสี่ยงขององค์กร

Monitoring & Supervising:

• รับทราบรายงานความก้าวหน้าในเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยอย่างสม ่าเสมอ

Provide Accountability:

• ตอบสนองต่อรายงานความก้าวหน้าในเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยทางคลิน ิก

อย่างเหมาะสม

• ท างานร่วมกันผู้บริหารสูงสุดขององค์กร เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในเรื่อง

คุณภาพและความปลอดภัยทางคลินิก

ระบบกำกับดูแลทางคลินิก

Q: ช่วยขยายความคำว่า "องค์กรกำกับดูแลทางคลินิก"

ใครต้องทำอย่างไร

A:

• หน่วยงานต่างๆ ปฏิบัติงานประจกอย่างมีคุณภาพด้วยระบบ 3 ชั้น

• ออกแบบระบบ, บริหารคุณภาพและความเสี่ยง, mindfulness & culture

• ทีมนำระบบงานที่เกี่ยวข้อง

• ออกแบบระบบ สื่อสาร ติดตาม

• พัฒนาระบบงานเพิ่มเติมในส่วนที่ยังขาด เช่น Openness, วิจัย

• หน่วยประสานข้อมูล รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดท ารายงานเสนอผู้บริหาร

• ผู้บริหาร ดำเนินการตอบสนองรายงาน นำเสนอสถานการณ์และแผนงาน

ต่อคณะกรรมการกำกับดูแลทางคลินิก อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง

• คณะกรรมการกำกับดูแลทางคลินิก รับทราบรายงาน ให้ข้อคิดเห็น

ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการ