1.THIP พื้นฐาน

THIP 15/11/2560

ช่วงเข้า แนะนำข้อมูลพื้นฐาน

01 แนะนำข้อมูลพื้นฐาน

สับดาหฺ์หน้าเปิด 3 วัน แก้ไขข้อมูล อ-พฤ

ทำอย่างไรให้ส่งข้อมูลได้ถูกต้อง

ธรรมชาติการทำงาน

เพื่อความสำเร็จขององค์กร

เป็นขั้นบันได 1-4

1.ทำงานประจำ

2.วัดความสำเร็จตามเป้าหมาย

3.พัฒนาให้ดีขึ้น

4.ส่งเสริมความสำเร็จขององค์กร

การใช้ตัวชี้วัดเป็นเครื่องมือพัฒนา Performance

เน้น Best practice

เป็นการสนับสนุนการทำงาน

เป็นเครื่องมือ ยกระดับผลลัพธืให้ดีขึ้น

เป็นการเรียนรู้ จากคนที่เก่งกว่า ลดเวลา ลดการลองผิดลองถูก

นำมาปรับใช้ให้ดีขึ้น

มัน Best practise

ทำอย่างไรจะปรับ KPI จากล่างสู่บนได้นี้คือ คำถามสำคัญ

Performance-BP>Better Performance-BP>Better Performance

เป็น Knowledge asset

ควรดาเนินกระบวนการให้ครบวงล้อ PDSA ดังนี้

(1) กาหนดระบบ/กระบวนการที่เกี่ยวข้อง

(2) กาหนดเป้าหมาย

(3) กาหนดตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมาย

(4) วัดค่า baseline

(5) กาหนดลาดับสาคัญของการพัฒนา

(6) ดาเนินการพัฒนาโดยใช้ทดสอบแนวคิดการพัฒนาหลายๆ รอบ

(7) วัดผลของการพัฒนาซ้า

(8) เรียนรู้และกาหนดเป้าหมายที่ท้าทายยิ่งขึ้น

THIP?

THIP ย่อมาจาก

Thailand Hospital Indicator Program

เป็นระบบการเปรียบเทียบตัวชี้วัดคุณภาพของโรงพยาบาลที่ผู้รายงานจะได้ทราบค่าของตนเปรียบเทียบกับค่า Percentile ของกลุ่ม

การรายงานจะเป็นแบบ Percentile

ไม่ใช่จัดทำ ranging เนื่องจากไม่มีความสำคัญ

ในการจัดอันดับ

Benchmarking ->

Benchmark ->

Best Practices

Benchmarking ดูตัวเรา ระบบของเราว่าได้ตามเป้าหรือไม่

วิธีวัด/เปรียบเทียบ การค้นหาต้นแบบ

Benchmark เทียบเหมือนการประกวด คือ ต้นแบบ

Best Practices การได้ที่ 1 เป็นวิธีปฏิบัติเพิ่อความเป็นเลิศ

สรุป

Benchmarking คือ วิธีการค้นหา BM และ BP

เพิ่มเติม เพิ่มเติม2

การพัฒนาผลลัพธ์สู่ความเป็นเลิศ

BP คือตัวเร่งตัวเพิ่มอัตราเร่งสู่ความสำเร็จ

1.SI การทำ self improvement จะค่อยเป็นค่อยไปช้า

2.KM เร็วขึ้น

3.KM+innovation ค่อยเป็นไป+เร็วขึ้นเป็นช่วงๆ

4.KM+innovation+Best practice จะพัฒนาได้เร็วที่สุด มั่นคง คงที่ที่สุด

THIP เป็นตัวเสริมในระบบต่างๆ

International Benchmarking Portal

ค่าใช้จ่ายต่างประเทศสูง 500,000 ต่อการ benchmarking ที่ APQC

{American Productivity & Quality Center}

ในไทยมีสถาบันเพิ่มผลผลิตเป็นสมาชิก

การเริ่มต้นในไทย

มีการจัดนำร่องโดย 11 โรงเรียนแพทย์ ในเครือ กศพท UhosNet

รวมกับทางสรพ ก่อต้ั้งขึ้นมา

เริ่มในปี 2551

ในช่วงแรกจะเป็น KPI ของโรงเรียนแพทย์เป็นหลัก

ลักษณะตัวชี้วัดของ THIP

THIP เน้นตัวชี้วัดเชิงสร่้างสรรค์ ไม่เน้นตัวถูกผิด

BP(best practice) เน้น KPI ที่ส่งเสริมให้มีการทำดี สร้างสรรค์ต่อไป

Lesson learning(อย่าทำ) เรื่อง safety ทำแล้วผิดพลาดแบบนี้อย่าทำ

ซึ่งต้องมีการลองผิดลองถูก เป็นเรื่องของการนำเสนอความผิดพลาดที่ไม่ควรทำเป็นหลัก

วัตถุประสงค์ของโครงการTHIP

1)ส่งเสริมให้สถานพยาบาล ใช้ประโยชน์จากการเปรียบเทียบ (Benchmarking)

เพื่อการยกระดับผลลัพธ์ (Performance) ขององค์กร

2)พัฒนาตัวชี้วัดเปรียบเทียบในการวัดผลลัพธ์

ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของสถานพยาบาล

และบูรณาการตัวชี้วัดร่วมของหุ้นภาคีที่เป็นมาตรฐาน

3)พัฒนาองค์ความรู้จากการปฏิบัติที่ดี/เป็นเลิศ (Best Practice)

ของเครือข่ายสถานพยาบาล และ

ฐานข้อมูลผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

4)พัฒนากลไกเครื่องมือ/เทคโนโลยี

ระบบสารสนเทศเปรียบเทียบวัดระดับคุณภาพโรงพยาบาล

การวัด KPI มีการเปรีบบเทียบทั้งทางยุทธศาสวตร์ ระบบงาน

เป็น Big data ทั้ง SMART

หลักการเลือกKPI

เน้นตัวชี้วัดที่ใช้ประโยชน์ได้ และ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

เน้นเชิงสร้างสรรค์ มากกว่า เชิงถูกผิด

International

Benchmarking Portal

Portal ของ ต่างประเทศก็มีเปรียบเทียบ KPI

แต่ค่าใช้จ่าย 500,000 ต่อปี

APQC's research agenda

การเริ่มต้น THIP

เกิดจาก 11 โรงเรียนแพทย์นาร่อง ร่วมกับ สรพ

UHOSNET กสพท+สรพ

ปัจจุบันมีประธานคนที่ 3

ศ.พญ.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์

อดีตประธานกรรมการ THIP ท่านที่ 1

รศ.นพ.อภิชาติ จิระวุฒิพงศ์

อดีตประธานกรรมการ THIP ท่านที่ 2

ที่ปรึกษา คณะกรรมการ THIP

รศ.ดร.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์

ประธานกรรมการ THIP วาระ 2558-2559

ข้อมูลโรงพยาบาลสมาชิกโครงการ THIP ปีงบประมาณ 2561

ปัจจุบัน

382 รพ. 2561 ผ่าน HA 366(96.8%)

รพ.ที่ผ่านHA เข้าร่วม366 48.1% ไม่เข้าร่วม359 51.9%

การพัฒนาการของ THIP

THIP I เน้นร.พ.ใหญ่ และ รร.แพทย์

THIP2 ร.พ. ขนาดเล็ก

THIP2 ปัจจุบัน ใช้เหมือนกันหมด

การต่ออายุสมาชิก 96%

ปีนี้โรงพยาบาลสมาชิกใหม่ 48 โรงพยาบาล

THIP เป็น BIG DATA/bencgmarking/BP

เป็นเร่ือง SMART

เริ่มจากยุทธศาสตร์ ทำอย่างไรให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ระบบและการตัดสินใจที่ดีได้

การเลือกกลุ่มเปรียบเทียบของรัฐมีมากกว่าของเอกชน

การนำเสนอ KPI เพิ่ม มี 4 ร.พ. ร่วมกันแล้วนำเสนอเพิ่มกับ สรพได้

ข้อมูลต้องมีอย่างน้อย 4 โรงพยาบาลจึงจะเกิดให้มีการเปรียบเทียบ

เกิดการsubgroup ได้

กรณีที่เลือก secment ย่อยลงไปแล้วมีร.พ.จะไม่มีข้อมูล

ข้อมูลตัวชี้วัดเปรียบเทียบ โครงการ THIP ปีงบประมาณ 2561

ปัจจุบันมี 188 ตัว

4 กลุ่มตัวชี้วัด

ไม่เน้นปริมาณ แต่เน้นคุณภาพ มีแค่ 188 ตัว

ตามปกติข้อมูล KPI มี 2 แบบ

1.Best practice เน้นเชิงพัฒนา เน้นเชิงบวก THIP เน้น

2.Lesson learn (อย่าทำ) เป็นเรื่อง saftyต่างๆ ความเสี่ยงต่างๆ ทำแล้วเกิดอุบัติการณ์อย่างไร ไม่ค่อยมีใครอยากนำมาพูดคุยแลกเปลี่ยน การสร้างสรรค์ทำได้ยาก THIP ไม่เน้น

การเก็บ THIP

-อธิบายการเก็บรวบรวมข้อมูลภายใต้ definition เดียวกัน

-บอกรายละเอียดเกี่ยวกับรายการตัวชี้วัดแต่ละตัว

-กาหนดรอบระยะเวลา/ ความถี่ในการกรอกและบันทึกส่งข้อมูล

-เลือก KPI ที่เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์องค์กร

-*บางตัวชี้วัดมีการประเมินผลลัพธ์ด้วยการเปรียบเทียบค่า และเกณฑ์วัดระดับผลการดาเนินงาน

KPI สำคัญที่มีปัญหาในการลงบันทึก

ที่ีมักมีการเปลี่ยนแปลง หรือ ความชัดเจนในการบันทึก

1.care process :

เน้น Criteria การวินิจฉัย

bed sore

2.ความคลาดเคลื่อนในการเข้าใจ :

septic shock เน้น วัดฝีมือ ER : ER care process

ต้องปรับระบบอย่างไร ให้วัดที่ER ได้

มีตัวชี้วัด 2 ตัวแยกกัน

CE0101 เข้า ER จนถึงยา เข้าเส้น in 3 hr ยากเนื่องจากกระบวนการมาก

CE0104 แพทย์มี order จนยาเข้าเส้น in 1 hr ง่ายกว่าพยาบาลอย่างเดียว

3.ตระกูลความพึงพอใจ

เก็บแบบไหนก็ได้ แต่ถ้าจะเปรียบเทียบใน THIP ต้อง ปท.คำถามเหล่านี้

SH0202 ท่านมีความพีงพอใจต่อองค์กรภาพรวมในระดับใด

ระบบพยาบาลอย่างไร แล้วเอาเพาะผลลัพธ์ข้อนี้

1 2 3 4 5 ดูจำนวนพยาบาลกี่คนที่ตอบ 4 กับ 5

SH0203 บุคคลากรที่สัมผัสกับผู่ป่วย ยกเว้นแพทย์ พยาบาล ทันต

SH0207 แพทย์

SC0102 ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับจากรพ. โดยรวมในระดับใด

(ผปใน นอนนานกว่า 3 วัน)

การใช้ THIP

สำหรับผู้บริหาร เอาไปให้ผู้บริหาร challange

เปรียบเทียบ คือ ถามเขาว่าทำอย่างไร มากกว่าการหาลำดับ

การจัด ranging ไม่ได้ช่วย จึงไม่มีแบบจัดลำดับ

บันได 7 ขั้น ของการวัดผล (7 Step to Measurement)

ความต้องการคือ บรรลุความสาเร็จ วิสัยทัศน์ขององค์กร

1 กาหนดเป้าหมายของการวัด

(Decide Aim)

2 เลือกตัวชี้วัด(เปรียบเทียบ)

/เลือกกลุ่มเปรียบเทียบ

(Choose Measures)

3 กาหนดรูปแบบ/ระบบการวัด

(Define Measures)

4 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

(Data Collection)

5 ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล

(Data Analysis)

6 ทบทวนผลการวัด

(Review Measure)

7 ความต่อเนื่องของระบบการวัด

(Repeat Step 4-6)

จนเกิด

ลงเปลี่ยนแปลงเพื่อผลลัพธ์ที่ดีกว่า

Action for Change

โดยทั้งหมดผ่านขั้นตอน 3C-PDSA

ข้อ 1-3 เป็นหน้าที่ของร.พ.

ข้อ 6 ส่ง PCT ทบทวนผลการวัด

.

ระดับสิทธิ์

3 ระดับ

Recheck คนเดียวตรวจซ้ำ โอกาสผิดสูง

Double check สองคน ผิดน้อยลง

Cross check สองคน สองวิชาชีพ ผิดน้่อยลงอีก เช่น จ่ายยาเภสัช และพยาบาลตรวจซ้ำ

***เปิดระบบ 21/11 9.00 -23/11 16.00

-เลือกแล้วไม่ส่งได้

-โดยไม่ต้อง key ไม่ต้องลง 0 ค่าจะผิด