IS ประเด็นสำคัญหน่วยงาน

การตามรอยIS

Purpose เป้าหมายหน่วย/โรค/มาตรฐาน

Pathway สิ่งที่จะตามรอย กำหนดเส้นทาง

Process-ปกติ ยามปกติ การสื่อสาร การส่งมอบ

Preparedness การเตรียมรับสถานการณ์ที่ไม่ปกติ

กลุ่มผู้ป่วยที่มีความเฉพาะ

ช่วงเวลาบางช่วง

สิ่งแวดล้อมที่ไม่พร้อม/ไม่เป็ฯไปตามคาด

อุบัติการณ์ที่เคยเกิด

Performance-การเรียนรู้

เรียนรู้จ่ากภาพรวม จากการประเมิน การปรับปรุง

บางหน่วยงานการจัดแบ่งพื้นที่การทำงานมีความสำคัญ

เช่น หน่วยจ่ายกลาง ห้องชันสูตร

บางหน่วยงาน เครื่องมือและทักษะของผู้ปฏิบัติงานมีความสำคัญ

เช่น หน่วยฉุกเฉิน หน่วยวิกฤต

การเยี่ยมหน่วยงานควรเกินตามทางที่สิ่งของ เข้าออก

ไปจนถึงผู้รับบริการ และกลับมายังหน่วยงานอีกครั้ง โดยดูทั้งกระบวนการทำงาน เทคนิค และผลลัพธ์ของาน

การปฏฺบัติงานของหน่วยงาน เชื่อมโยงกับหน่วยงานใดบ้าง ภายใข้มาตรการและการติดตามผลของคณะกรรมการใดบ้าง

1.หน่วยจ่ายกลาง

-โครงสร้าง การจัดแบ่งพ้นที่ การเข้าออกของเครื่องมือ

-สิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความตระหนักและความเข้ามจในเรื่องการปราศจากเชื้อ สังเกตุการแต่งตัว การล้ามือ

-การปฏิบัติงานทั้งกระบวนการ การรับและส่งเครื่องมือ

-การทดสอบประเสิทธิภาพของเครื่องมือ การบำรุงรักษา

-การสุ่มตรวจสอบอุปการณ์ที่ผ่านกระบวนการแล้วและเตรียมส่งให้หน่วยงานที่เป็นลายลักษณธอักษรการวิเคราะห์และการปรับปรุงแก้ไข

-ระบบการจ่ายเคือ่งมือนอกเวลาทำการ

-มีการประเมาณความต้องการใช้เรื่องมือของแต่ละหน่วยอย่างไร

2.หน่วยชันสูตร

-ความถูกต้องทั้งตัวผู้ป่วย และ ผลการตรวจ การทันเวลา

-การสอบเทียบและการบำรุงรักษาเครื่องมือ ทักษะการใช้เครื่องมือ

-การบันทึกข้อมูลของเครื่องมือแต่ละชนิด การนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์

-การจัดเก็บน้ำยา การป้องกันการติดเชื้อ และการแพร่กระจายเชื้อในสิ่งแวดล้อม

-ปัญหาที่เกิดตั้งแต่การเก็บตัวอย่าง การวิเคราะห์ การราายงานผล การสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง

-ความไม่สอดคล้องของผลการวิเคราะห์กับอาการทางคลินิก

-การกำหนดค่าวิกฤตของผลการวิเคราะห์ฺที่ต้องรายงานด่วน

-การรักษาความลัลผู้ป่วย

-การเข้าถึงและการแก้ไขข้อมูลของเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ

3.หน่วยงานทันตกรรม

-การระบุตัวผู้ป่วยเพื่อป้องกันการรักษาผิดคน

-การทำงานเป็นทีมระหว่างทนตแพทย์และแพทย์ที่รักษาโณคทางระบบของผู้ป่วย เช่น เบาหวาน มะเร็ง หัวใจ เป็นต้น

-เวชระเบียนของแผนกทันตกรรมใช้ร่วมกับเวชระเบียนโรคทั่วไปหรือไม่ ใช้ระบบแพทย์เจ้าของไข้หรือไม่

-การให้ข้อมูลผู้ป่วย ให้โอกาสในการเลือกการรักษา

-การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย จัดลำดับความเร่งด่วน

-มาตรการป้องกันการติดเชื้อและแนวทางการติดตามให้เป็ฯไปตามมาตรการที่ว่างไว้

--แผนงาน กิจกรรม และเป้าหมารยชองการให้บริการทัตกรรมเชิงรุกในชุมชน พื้นที่ที่รับผิดชอบ

-การกำหนดเป้าหมายและการอกแบบ บันทึกเวลระเบียนการทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน

-การเตรียมความพร้อมและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

-แนวทางการให้บริการผูป่วยที่ติดเชื้อ HIV

-การใช้ประโยชน์จากตัวชี้วัดมาปรับปรุงระบบและวิธีการทำงาน

4.งานเวชระเบียน

-การจัดเก็บและการค้นหาที่เป็นระบบ

-ความรวดเร็ว ถูกต้อง การรักษษความลับ

-การสูญหาย การออกใบแทน

-การบันทึกเรื่องการแพ้ยา

-ประสิทธฺิภาพของเจ้าหน้าที่ในการติดตามเวชระเบียน

5.ห้องเอกซเรย์

-การเตรียมผู็ป่วย

-การระบุตัวผู้ป่วย

-คุณภาพของการถ่ายภาพ

-การบำรุงรักษาเครื่องมือ

-การป้องกันอันตรายจากรังสี

-การเฝ้าระวังการแพ้สารทึบแสง

6.ห้องพัสดุ

-ความถูกต้อง ทันเวลา การเก็บรักษา

-ของไม่ขาด หรือ ค้างนานเกินไป

-การประสานกับหน่วยงานอื่น

-การบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธฺิภาพ

-

7.งานโภชนาการ

-การจัดซื้อ การเก็บ การล้าง การเตรียมประกอบอาหาร และ การกำจัดของเสียที่ถูกต้อง

-การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยที่ต้องการอาหารเฉพาะโรค

-การให้ความรู้ทางโภชนาการแก่ผู้ป่วยและญาติ

-การเตรียมอาหารทางสายยาง

-การเตรียมอาหารเฉพาะ เช่น อาหารอิสลาม มังสวิรัติ

8.งานกายภาพบำบัด

-ความเวสี่ยงจากเครือ่งมือ

-การให้การบริการ

-การให้ความรู้

-ความร่างมมือกับทีมนำทางคลินิก

-

9.ห้องผ่าตัด

-โครงสร้ง่า สิ่งแวดล้อม ระบบปรับและระบายอากาศ

-การดูแลเพื่อป้องกันการปนเปื้อนในขณะผ่าตัด ทั้งเครื่องมือและบริเวณทีกำลังทำการผ่าตัด

-ความเสี่ยงที่เกิดจากระบบผ่าตัด : การระบุตัวผู้ป่วย

การรองรับภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมในการช่วยชีวิตผู้ป่วย

-บริเวณและกระบวนการทำความสะอาดเครืองมือที่ใช้แล้ว

-กาารสื่อสารและประเสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและในทีมผุ้ให้บริการ

-การเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมในการผ่าตัด ทั้งร่างกายและจิตใจ

-การกำหนดเป้าหมายและออกแบบบันทึก การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกการผ่าตัด

การวิเคราะห์และการใช้ประโยชน์จากตัวชีวัด เช่น

-อัตราการเสียชีวิตในห้องผ่าตัด ภายใน 48 ชั่วโมง

-จำนวนครั้งของการยกเลิกหรือเลื่อนผ่าตัด

-จำนวน/อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด

-จำนวน/อัตราการผ่าตัดที่ไม่พบพยาธิสภาพ

-อัตราการใช้ยาต้านจุลชีพแก่ผู้ป่วยเพื่อการป้องกัน

-

10.งานวิสัญญี

-การทำงานเป็นทีมระหว่างสหวิชาชีพต่างๆ

-การเตรียมพร้อมก่อนผ่าตัด

-การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่จำเป็นและทางเลือก

-การประเมินสภาะวก่อนการระงับความรู้สึก

--การตรวจสอลความพร้อมของเครือ่งมือ

-การติดตามเยี่ยมหลังการระงับความรู้สึก

-การป้องกันควาเมสี่ยงขณะเคลื่อนย้่าย

-การตอลสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน

-ความสมบูรณ์ของบันทึก

11.ห้องฉุกเฉิน

-การประเมินผู้ป่วย

-สมรรถนะของผู้ให้บริการ

-ความพร้อมใช้ของเครื่องมือ

-การจัดการกับภาวะวิกฤต

-การส่งต่อผู้ป่วย

-การเตรียมรับอุบัติเหตุหมู่

-การช่วยฟื้นคือชีพ

-การจัดการกรณีเสียชีวิต

-

12.งานบริการโลหิต

-การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต

-มีฉลากที่สมบูรณ์สำหรับโฃหิตที่เจาะ

-การตรวจโลหิต เพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัย

-ระบบการสำรองโลหิต

-การตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนการจำหน่ายโลหิต

-การใช้ การเก็บ การทิ้งโหลิต สิ่งส่งตรวจ อุปกรณ์

-

13.ผู้ป่วยวิฟฏติ/หน่วยบำบัดพิเศษ

-ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วย

-การระบุตัวผู้ป่วย

-ากรให้และรับข้อมูลผู้ป่วย

-การประเมินควมรุนแรงของผู้ป่วย

-การวางแผนการดูแลรักษา

-การตอบสนองภาะวฉุกเฉิน

-การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

-การดูแลอุปกรณ์ และ เครื่องมือที่สำคัญ

-เกณฑ์การย้ายผู้ป่วยออกจากหอวิกฤติ

14.การบริการทารกแรกเกิด

-ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วยและการระบุตัวผุ้ป่วย

-ากรตรวจร่างการทารกแรกเกิด

-การแก้ไขภาะวฉุกเฉิน

-การดูแลผุ้่ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

-แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีข้อควรระวังเป็ฯพิเศษ

15.การบิการสูติกรรม

-การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย

-การระบุตัวมารดาและทารก

-แนวทางการดูแลมารดาที่มีภาะวแทรกซ้อน

-ข้อบ่งชี้และแนวาทงในการกระตุ้นคลอดและหัตถการ

-ข้อบ่งชี้และแนวทางในการกระตุ้นคลอด และหัตถการ

-ความพร้อมในกภาะวฉุกเฉินของมารดาและบุตร

-

16.หอผู้ป่วยทั่วไป

-การเตรียมความพร้อม

-การประเมินผุป้วย

-กระบวนการการดูแลผู้ป่วย

-ากรบันทึกเวชระเบียน

-การเตรียมการจำหน่าย

-การให้ความรู้

-ระบบยา

-

17.ห้องตรวจโรคผุ้ป่วยนอก

-การรับใหม่

-การประเมินและการคัดกรอง

-การช่วยเหลือในภาะวฉุกเฉิน

-การให้การบริการทั่วไป

-สิทธิผู้ป่วย

-