SPAIII-1 การเข้าถึงเข้ารับบริการ

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาในการเข้าถึง:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการเข้าถึงและเข้ารับบริการ

(1) การตอบสนองปัญหาและความต้องการบริการสุขภาพของชุมชน:

- บริการใดที่เป็นความต้องการสำคัญของชุมชนแต่โรงพยาบาลไม่สามารถจัดให้บริการได้ควรพิจารณาว่ามีวิธีการจัดบริการดังกล่าวหรือไม่หรือมีวิธีให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้อย่างไร

- โรคใดบ้างที่การสื่อสารให้ข้อมูลผ่านทางเทคโนโลยีสามารถช่วยดูแลผู้ป่วยโดยไม่ต้องมาโรงพยาบาลได้โดยจัดให้มีระบบให้คำปรึกษาผ่านทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

- อุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการในด้านกายภาพมีอะไรบ้า งด้านภาษา ด้านวัฒนธรรม ด้านอื่นๆมีอะไรบ้าง

- จัดหาอุปกรณ์ช่วยสื่อสารทำความเข้าใจบ่งชี้ตอบสนอง

- ระยะเวลารอคอยก่อนที่จะได้รับการตรวจจากแพทย์ที่ opd ของแต่ละแผนกเป็นอย่างไรกำหนดเป้าหมาย

- ผู้ป่วยที่ต้องนัดคิวเข้ามารับบริการการตรวจวินิจฉัยหรือรักษาอะไรบ้างต้องรอคิวนานเท่าไหร่ปรับปรุงให้ระยะเวลารอคอยสั้นลงหรือพิจารณาส่งต่อ

- มีขั้นตอนที่ไม่เกิดประโยชน์ในการเข้ารับบริการของผู้ป่วยอะไรบ้าง ใช้แนวคิดลีน

-ปัญหาชุมชนที่ร.พ.ยังตอบสนองไม่ได้

-โรคใดที่สามารถสื่อสารผ่านทางเทคโนโลยีได้

-โรค ดูแลอย่างเร่งด่วน แต่ติดปัญหาในการเดินทาง

-ผู้ป่วย โดดเดี่ยว ไม่ยอมมารับบริการ หรือ ถูกหน่วงเหนี่ยว

-อุปสรรค ต่อการเข้าถึง ด้านกายภาพ

-อุปสรรค ต่อการเข้าถึง ด้านภาษา

-อุปสรรค ต่อการเข้าถึง ด้านวัฒนธรรม

-อุปสรรค ต่อการเข้าถึง ด้านอื่นๆ

-ระยะเวลารอคอย ก่อนพบแพทย์ ที่ OPD,ER

-ผู้ป่วย คิวนัดเข้ารับบริการ

-ขั้นตอน ไม่เกิดประโยชน์

(2) การประสานงานกับหน่วยงานที่ส่งผู้ป่วยมา:

- ผู้ป่วยกลุ่มใดที่โดดเดี่ยวตนเองไม่ยอมรับบริการถูกหน่วงเหนี่ยวไม่ถูกมาให้บริการจัดบริการเชิงรุกร่วมกับชุมชนในการค้นหาผู้ป่วย

- โรคใดบ้างต้องการการดูแลอย่างเร่งด่วนแต่พบบ่อยในบางพื้นที่มีปัญหาการเดินทางให้ประสานกับแหล่งทรัพยากรต่างๆ

-เราต้องประสานงานทีมที่ส่งต่อทีมไหนบ้าง

-วิธีการประสานอย่างไร

-การประเมินระบบ Triage อย่างไรบ้าง

-สายด่วน เครือข่าย ACS, Stroke, reference TB center

(3) การคัดแยก (triage) การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินหรือเร่งด่วนอย่างเหมาะสม:

- กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลฉุกเฉินหรือเร่งด่วนที่ ER มีอะไรบ้างที่ opd มีอะไรบ้างที่วอร์ตมีอะไรบ้าง

- กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัดฉุกเฉินหรือเร่งด่วนมีอะไรบ้าง

- กลุ่มผู้ป่วยอะไรบ้างที่ควรได้รับการดูแลจากแพทย์ที่มีความสามารถที่เหมาะสมโดยไม่ต้องผ่านการปรึกษาหลายขั้นตอน

กำหนดขั้นตอนการขอคำปรึกษาที่เหมาะสม มีช่องทางสื่อสารที่สะดวกในการเข้าถึง

- มีระบบในการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความรวดเร็วและผลที่ไม่พึงประสงค์เนื่องจากความล่าช้าในการดูแลผู้ป่วยแต่ละกลุ่มอย่างไรบ้าง จัดให้มีระบบติดตามตัวและกำหนดความถี่ที่เหมาะสม

(4) การดูแลเบื้องต้นและส่งต่อ สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้การรักษาได้:

- ผู้ป่วยที่โรงพยาบาลไม่สามารถรับไปดูแลได้และมีโอกาสที่ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมาก่อนรับบริการมีอะไรบ้าง จัดระบบดูแลตั้งต้นและการประสานงานเพื่อส่งต่ออย่างเหมาะสม

- มีการกำหนดเกณฑ์สำหรับตัดสินใจอย่างไรว่าจะรับหรือไม่รับผู้ป่วยไว้ดูแล

- มีการกำหนดแนวทางปฏิบัติเมื่อไม่สามารถรับผู้ป่วยไว้ดูแลได้อย่างไรในเรื่องการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นการให้คำอธิบายแก่ผู้ป่วยและครอบครัวการช่วยเหลือในการหาโรงพยาบาลที่จะส่งต่อการประสานงานกับโรงพยาบาลที่จะรับผู้ป่วย ตามรอยปฏิบัติที่ใช้จริงเพื่อค้นหาโอกาสปรับปรุง

- สถิติผู้ป่วยจาก opd และ ER ที่โรงพยาบาลไม่สามารถรับไปดูแลได้เป็นอย่างไรผลการประเมินในประเด็นความเหมาะสมต่างๆเป็นอย่างไร จัดลำดับความสำคัญประเด็นที่ต้องปรับปรุง ทั้งเรื่องของโลกและขั้นตอน

- มีระบบในการติดตามผลการดูแลในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับไปดูแลหรือไม่ ติดตามจากโรงพยาบาลที่รับส่งต่อแล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์

-กำหนดเกณฑ์ รับไม่รับ admit

-กำหนด แนวทาง ปฏิบัติ กรณีไม่รับ คำอธิบาย การช่วยเหลือหารพ.ส่งต่อ

-สถิติ OPD ER ที่ไม่สามารภรับไว้ดูแล การประเมินผลความเหมาะสม

-ระบบติดตามผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับดูแล

(5) การรับผู้ป่วยเข้าในหน่วยบริการวิกฤติหรือหน่วยบริการพิเศษ:

- อะไรคือเกณฑ์รับย้ายหรือรับผู้ป่วยเข้าไว้ดูแลในหน่วยงานเทศกิจหรือหน่วยงานเป็นการพิเศษ

-มีระบบการประเมินการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์หรือไม่ผลเป็นอย่างไร

- มีระบบการทบทวนผลไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเข้ารับบริการในหน่วยบริการวิกฤตในเวลาที่เหมาะสมอย่างไร

-เกณฑ์รับย้าย ใน ICU หรือ หน่วยบริการพิเศษ เกณฑ์การ Admit ไม่เหมาะสม อ่อนไป พัฒนาศักยภาพของ โรงพยาบาล

-ระบบประเมินการปฏิบัติตามเกณฑ์หรือไม่ ผลอย่างไร มีแนวทางการบริหารการจัดการเตียงเป็น reail time

-ระบบทบทวนผลไม่พึงประสงค์ ที่เกิดจากไม่สามารถรับเข้า ICU ได้ นำเข้าทบทวน Inter hos

-refer ทำให้อัตราตายหลัง refer 24 hr ดีขึ้น......

-unplan icu 2 hr, admit ผิดที่ ต้องลดลง opd?, code RRT นอก พยาบาล คัดกรอง เรื่อง คน คุ๋มือ เขียนจอบ km

(6) การให้ข้อมูลและการขอ informed consent:

- มีแนวทางการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเมื่อแรกรับไว้ดูแลหรือไม่อย่างไรครอบคลุมข้อมูลอะไรบ้างใครเป็นผู้ให้ข้อมูลแต่ละประเภท

- กลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาในการรับรู้และเข้าใจข้อมูลมีกลุ่มใดบ้างมีแนวทางปฏิบัติอย่างไร

- มีระบบการสำรวจความครอบคลุมในการให้ข้อมูลความเข้าใจของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างไร

- ข้อมูลสำคัญที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับทราบก่อนที่จะลงนามใน informed consent ทั่วไปมีอะไรบ้างผู้ป่วยได้รับและเข้าใจข้อมูลดังกล่าวดีเพียงใด

- ข้อมูลสำคัญที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับก่อนที่จะลงนามใน inform Content ก่อนที่จะทำ invasive procedureมีอะไรบ้างผู้ป่วยได้รับและเข้าใจข้อมูลดังกล่าวดีเพียงใด

- ข้อมูลอะไรที่แพร่จะต้องเป็นผู้ให้แก่ผู้ป่วยเองข้อมูลอะไรที่พยาบาลสามารถให้ข้อมูลแทนแพทย์ได้แนวทางที่จะให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลจากแพทย์โดยตรงเมื่อจำเป็นคืออะไร

- การทำหัตถการใดบ้างที่ควรมีการจัดทำสื่อเพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นพิเศษ

- ข้อมูลอะไรที่ให้แก่ผู้ป่วยแล้วควรมีการบันทึกไว้ใน informed consent ด้วยเพื่อเป็นที่อ้างอิงในอนาคตเมื่อจำเป็น

- ทีมงานพอใจกับการแจ้งข่าวร้าย แชมป์โลกที่ไม่มีทางรักษาเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเพียงใด

-IC ผ่าตัด ระงับความรู้สึก moderate sedation บริการความเสี่ยงสูง การวิจัย ถ่ายภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ์

-แนวทางการให้ข้อมูลผู้ป่วยแรกรับ

-กลุ่มผุ้ป่วยที่มีปัญหาในการรับรู้และเข้าใจข้อมูลมีกลุ่มใดบ้าง แนวทางปฏิบัติอย่างไร

-ระบบการสำรวจความครอบคลุมในการให้ข้อมูล ความเข้าใจของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างไร

-ช้อมูลสำคัญที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับทราบก่อนที่จะลงนามใน IC ทั่วไปมีอะไรบ้าง ผู้ป่วยเข้าใจดีเพียงใด

-IC ก่อนทำ Invasive procedure

-ข้อมูลที่แพทย์ต้องเป้นคนให้เอง

-ข้อมูลที่พยาบาลเป็นผู้ให้

-จัดทำสื่อการทำหัตถการ เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

-ข้อมูลที่ให้แล้วมีบรรทึกใน IC

-การแจ้งข่าวร้าย โรคที่ไม่มีทางรักษา เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์

การเข้าถึง การเข้ารับ ของเราอะไรที่โดดเด่น

การเข้าถึง ยังไม่เห็น ผลการพัฒนาที่ชัดเจน

การเข้ารับ Storke ACS เช่นซองยา 1745 กลุ่มผู็หป่วย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ คลินิกของเรา มี Out come ดี ประเมินอย่างไรว่าดี