Chain of prevention

Chain of Prevention ห่วงโซ่ของการป้องกัน (ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์)

ห่วงโซ่ที่ ๑ Education ทีมงานสุขภาพต้องมีความรู้เรื่องโรค เรื่องการดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง-ครอบคลุม-ครบถ้วนตามมาตรฐานของแต่ละวิชาชีพ ทราบสีญญาณอันตรายที่อาจจะเกิดในเวลาอันใกล้

•สังเกตอาการผู้ป่วยอย่างไร

• สามารถตรวจจับ “SIGNS” ที่บ่งบอกว่าผู้ป่วยกำลังแย่ลง

• การใช้ Early warning scores (EWS)

• เกณฑ์การตาม RRT / MET

• การให้การช่วยเหลือเบื้องต้น

ห่วงโซ่ที่ ๒ Monitoring การสัดสัญญาณชีพถูกต้อง ครอบคลุม ครบถ้วน เหมาะสม วิเคราะห์ได้ว่าผิดปกติ และบันมึกชัดเจน

•การประเมินผู้ป่วย การวัดและการบันทึก Vital signs

• วัด vital signs ให้ครบถ้วน

• วัด vital signs ให้ถูกต้อง

• วัด vital signs ให้มีความถี่ที่เหมาะสม

• วิเคราะห์ vital signs ที่วัดได้ • มีบันทึกที่ชัดเจน

ห่วงโซ่ที่ ๓ Recognition มักจะเป็นปัญหาบ่อยที่นำไปสู่การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ การใช้ Track, Trigger tools เป็นตัวช่วยลดความบกพร่องของ Recogition

• มักจะเป็นปัญหาที่พบบ่อยที่น าไปสู่ adverse event

• หลายๆ โรงพยาบาลมีการใช้ calling criteria เพื่อประมวล การ monitor หรือใช้ขอความช่วยเหลือจากผู้ที่มีความ เชี่ยวชาญกว่า

• Track และ trigger system จะสามารถช่วยลดความ บกพร่องของ recognition ได้

ห่วงโซ่ที่ ๔ Call for help ขอความช่วยเหลือ ต้องมี Activation protocol ที่เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลทุก คนเข้าใจตรงกัน

• ทำให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กร

• มีระบบการสื่อสารที่เป็นสากลในการ consult เช่น

RSVP (Reasons – Story –Vital signs – Plan)

SBAR (Situation - Background – Assessment – Recommendation)

ห่วงโซ่ที่ ๕ Response การตอบสนอง ในที่นี้หมายถึงของแพทย์หลังจากที่เรารายงานแล้ว

• ทีมรับการ consult และตอบสนองอย่างรวดเร็ว

(Rapid response team - RRT / Medical emergency team - MET)

ตัวอย่าง pre-arrest signs

ปัญหามี 3 ส่วน

failure in planning

failure to communicate

failure to recognize deteriorating parient condition

มาทำ chain of prevention

Education

Monitoring - Eary warning sign ,score

Recognition - pre-arrest signs, calling criteria

Call for help - SBAR, system of calling

Response - Activation protocal

pre-arrest signs

1.เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายใจเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย

2.อัตราการเต้นของหัวใจ < 40 หรือ > 130 ครั้งต่อนาที

3.Systolic blood pressure น้อยกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท

4.อัตราการหายใจ < 8 หรือ > 28 ครั้งต่อนาที

5.O2 saturation < 90% ขณะได้รับ Oxygen แล้ว

6.ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง

7.Urinary output < 50 ml ใน 4 ชั่วโมง

แล้วกำหนด pathway หากเป็นตามที่กำหนดต้องทำอะไรต่อ

ref.

https://www.gotoknow.org/posts/502365