SPAIII-4.2 การดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง

(1) การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยและบริการที่มีความเสี่ยงสูง:

- พบผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงในความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง เช่น

ผู้ป่วยโรคติดต่อภูมิต้านทานต่ำ

ผู้ป่วยผูกยึด

ผู้สูงอายุ

ผู้ทุพพลภาพ

- บริการที่มีความเสี่ยงสูงในความรับผิดชอบมีอะไรบ้าง เช่น

การให้เลือดการฟอกไต

การให้ยาเคมีบำบัด

ร่วมกันจัดทำแนวทางดูแลผู้ป่วยใช้ข้อมูลวิชาการที่เหมาะสมระบบการดูแล

ที่ต้องใส่ใจสิ่งที่ต้องบันทึก การสื่อสาร ติดตาม ประเมินผู้ป่วย

รวมถึงทักษะของบุคลากรในการดูแลและเครื่องมืออื่นๆ

(2) การฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง และการนำมาปฏิบัติ:

- อุบัติการณ์ในการดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่เคยพบหรือมีโอกาสมีอะไรบ้างมีข้อการฝึก สำหรับทีมผู้ให้การดูแลและดำเนินการฝึกอบรม

(3) การทำหัตถการที่มีความเสี่ยง:

- การทำหัตถการที่มีความเสี่ยงสูงในความรับผิดชอบมีอะไรบ้างจัดทำแนวทางโดยใช้ข้อมูลวิชาการระบุคุณสมบัติผู้ทำมาตรการและสถานที่และเครื่องมือและผู้ช่วย

(4) การเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงอาการผู้ป่วย เพื่อแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนแผนการรักษา:

- โรคหรือสภาวะที่อาการของผู้ป่วยมีโอกาสเปลี่ยนแปลงและจำเป็นต้องได้รับการเฝ้าระวังเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสมมีอะไรบ้างให้ระบุสิ่งที่ต้องเฝ้าวิธีการเฝ้าระวังส่วนกรณีเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ปรับเปลี่ยนแผนการรักษาในเวลาที่เหมาะสมหรือไม่อย่างไร

- การช่วยฟื้นคืนชีพนอก ICU เกิดขึ้นในผู้ป่วยหรือในสถานการณ์ใดมีการกำหนด early warning Sign ที่จะเป็นสัญญาณเตือนว่าผู้ป่วยอาจมีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ภาวะวิกฤตเป็นอย่างไรปรับปรุง Early warning Sign ให้เข้าไปอยู่ในบันทึกสัญญาณชีพและมีการชี้นำการปฏิบัติ

(5) การตอบสนองและความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการทรุดลงหรือเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ภาวะวิกฤติ (rapid response system):

- จัดการทีมให้มีและปิดและสปอนเซอร์ทีม

(6) การติดตาม วิเคราะห์แนวโน้มของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เพื่อนำมาปรับปรุง:

- ภาวะแทรกซ้อนหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงมีแนวโน้มเป็นอย่างไรทนความไวในการตรวจจับหรือบ่งชี้เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์แล้วนำผลมาวิเคราะห์แนวโน้มของภาวะแทรกซ้อนมาปรับปรุงระบบ