มิติคุณภาพ

มิติของคุณภาพ

มิติของคุณภาพ อาจจัดกลุ่มมิติของคุณภาพที่สำคัญ ให้เหมาะสมสำหรับ

โรงพยาบาลในโครงการพัฒนา และ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล ในประเทศไทย ได้ดังนี้

การเข้าถึงบริการ (Accessibility): ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ตามข้อบ่งชี้ และในเวลาที่สมควร

ความเหมาะสม (Appropriateness): ความถูกต้องตามข้อบ่งชี้ตามความจำเป็นของผู้ป่วยและหลักวิชาการ

ความสามารถ (Competency): ระดับความรู้ ทักษะ เทคโนโลยีในการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

ความต่อเนื่อง (Continuity): ผู้ป่วยได้รับบริการอย่างต่อเนื่อง มีการประสานงานที่ดี

ประสิทธิผล (Effectiveness): การบริการบรรลุถึงผลลัพธ์ของการรักษาที่เป็นที่ต้องการของผู้ป่วย (responsiveness) และมีความสม่ำเสมอ (consistency)

ประสิทธิภาพ (Efficiency): โรงพยาบาลให้บริการโดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และทันต่อเวลา (timeliness)

ความปลอดภัย (Safety): ระดับความเสี่ยงต่อผลลัพธ์ทางลบ ความผิดพลาด และผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการ

ที่สำคัญ ให้เหมาะสมสำหรับ โรงพยาบาลในโครงการพัฒนา และ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล ในประเทศไทย ได้

อื่นๆ

Coverage ความครอบคลุม

Equity ความเป็นธรรม

Humaized/Holistic องค์รวม ดูแลด้วยหัวใจ

Responsiveness การตอบสนอง

Safety ความปลอดภัย

Timeliness ความรวดเร็ว ทันการณ์

มุมมอง/มิติ ตัวอย่างเครื่องชี้วัด

Acceptability(เป็นที่ยอมรับของผู้ป่วย)

- ความพึงพอใจ- อัตราคำร้องเรียน

Accessibility(การเข้าถึง การมีบริการในสถานที่ และ เวลาที่เหมาะสม)

- บริการที่ไม่สามารถจัดให้แก่ผู้ป่วย ในเวลาที่เหมาะสม- ระยะเวลารอคอย

Appropriateness(ความถูกต้องเหมาะสมทางวิชาการ)

- compliance ต่อ CPG- การ investigate & ทำ procedure โดยไม่มีข้อบ่งชี้- ความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียน

Competency(ความรู้และทักษะของผู้ให้บริการ)

- ผลที่ไม่พึงประสงค์เนื่องมาจาก ขาดความรู้และทักษะ

Continuity(ความต่อเนื่องและการประสานงาน)

- การเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังจากจำหน่าย

Effectiveness(ผลลัพธ์ดี)

- อัตราตาย- อัตรา re-admit, re-operation- ระดับ functional status

Efficiency(ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า)

- ต้นทุนตามกลุ่มโรค- วันนอนเฉลี่ยตามกลุ่มโรค

Safety(มีความเสี่ยงน้อยที่สุด)

- อัตราการเกิดอุบัติการณ์, ภาวะแทรกซ้อน

Patient right & dignity(พิทักษ์สิทธิและศักดิ์ศรี)

- จำนวนคำร้องเรียน

หมายเหตุ: อ้างใน เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ HA 301 หน้า 2

ที่มา

http://narahospital-hacenter.blogspot.com/2009/05/blog-post.html

คุณภาพการดูแลรักษาในการให้บริการ

1. Accessibility : ความสะดวกที่ ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการดูแลรักษาพยาบาลตามความจำเป็น

2. Timeliness : ความพร้อมของการดูแลที่จัดไว้ให้กับผู้ป่วยได้ทันที ที่ต้องการ

3. Effectiveness : การดูแลรักษาที่ดี ทั้งกิริยามารยาท ความรู้การบริการต่อผู้ป่วย

4. Efficacy : Efficacy : การบริการที่จะบรรลุความต้องการของผู้ใช้บริการ

.5. Appropriateness : การบริการที่ให้ตรงกับความต้องการของผุ้ใช้บริการ

6. Efficiency : การดูแลรักษาที่ได้ผลตามความต้องการและปลอดภัยโดยค่าใช้จ่ายน้อย

7. Continuity : การดูแลรักษาประสานกันอย่างต่อเนื่อง สอดคล้อง โดยทีมสหสาขา

8. Privacy : การดูแลทที่คำนึงถึงสิทธิของผูป่วย เช่น ความเจ็บป่วย

9. Confidentiality : การดูแลรักษาความลับเกี่ยวกับผู้ป่วย

10. Participation of patient & family in care : การดูแลที่เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยมีส่วนเกี่ยวข้องในการตัดสินใจ เกี่ยวกับความเจ็บป่วย

11. Safety of care environment : . Safety of care environment : การเตรียมสถานที่และเครื่องมือที่จำเป็นไว้ให้พร้อม ที่จะให้บริการทันทีเมื่อต้องการ

https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/soqd/admin/news_files/400_18_2.pdf

มิติของคุณภาพ

มิติของคุณภาพ อาจจัดกลุ่มมิติของคุณภาพที่สำคัญ ให้เหมาะสมสำหรับ โรงพยาบาลในโครงการพัฒนา และ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล ในประเทศไทย ได้ดังนี้

การเข้าถึงบริการ (Accessibility): ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ตามข้อบ่งชี้ และในเวลาที่สมควร

ความเหมาะสม (Appropriateness): ความถูกต้องตามข้อบ่งชี้ตามความจำเป็นของผู้ป่วยและหลักวิชาการ

ความสามารถ (Competency): ระดับความรู้ ทักษะ เทคโนโลยีในการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

ความต่อเนื่อง (Continuity): ผู้ป่วยได้รับบริการอย่างต่อเนื่อง มีการประสานงานที่ดี

ประสิทธิผล (Effectiveness): การบริการบรรลุถึงผลลัพธ์ของการรักษาที่เป็นที่ต้องการของผู้ป่วย (responsiveness) และมีความสม่ำเสมอ (consistency)

ประสิทธิภาพ (Efficiency): โรงพยาบาลให้บริการโดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และทันต่อเวลา (timeliness)

ความปลอดภัย (Safety): ระดับความเสี่ยงต่อผลลัพธ์ทางลบ ความผิดพลาด และผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการ ที่สำคัญ ให้เหมาะสมสำหรับ โรงพยาบาลในโครงการพัฒนา และ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล ในประเทศไทย ได้ดังนี้

การเข้าถึงบริการ (Accessibility): ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ตามข้อบ่งชี้ และในเวลาที่สมควร

ความเหมาะสม (Appropriateness): ความถูกต้องตามข้อบ่งชี้ตามความจำเป็นของผู้ป่วยและหลักวิชาการ

ความสามารถ (Competency): ระดับความรู้ ทักษะ เทคโนโลยีในการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

ความต่อเนื่อง (Continuity): ผู้ป่วยได้รับบริการอย่างต่อเนื่อง มีการประสานงานที่ดี

ประสิทธิผล (Effectiveness): การบริการบรรลุถึงผลลัพธ์ของการรักษาที่เป็นที่ต้องการของผู้ป่วย (responsiveness) และมีความสม่ำเสมอ (consistency)

ประสิทธิภาพ (Efficiency): โรงพยาบาลให้บริการโดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และทันต่อเวลา (timeliness)

ความปลอดภัย (Safety): ระดับความเสี่ยงต่อผลลัพธ์ทางลบ ความผิดพลาด และผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการ

มุมมอง/มิติ ตัวอย่างเครื่องชี้วัด

Acceptability(เป็นที่ยอมรับของผู้ป่วย)

- ความพึงพอใจ- อัตราคำร้องเรียน

Accessibility(การเข้าถึง การมีบริการในสถานที่ และ เวลาที่เหมาะสม)

- บริการที่ไม่สามารถจัดให้แก่ผู้ป่วย ในเวลาที่เหมาะสม- ระยะเวลารอคอย

Appropriateness(ความถูกต้องเหมาะสมทางวิชาการ)

- compliance ต่อ CPG- การ investigate & ทำ procedure โดยไม่มีข้อบ่งชี้- ความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียน

Competency(ความรู้และทักษะของผู้ให้บริการ)

- ผลที่ไม่พึงประสงค์เนื่องมาจาก ขาดความรู้และทักษะ

Continuity(ความต่อเนื่องและการประสานงาน)

- การเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังจากจำหน่าย

Effectiveness(ผลลัพธ์ดี)

- อัตราตาย- อัตรา re-admit, re-operation- ระดับ functional status

Efficiency(ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า)

- ต้นทุนตามกลุ่มโรค- วันนอนเฉลี่ยตามกลุ่มโรค

Safety(มีความเสี่ยงน้อยที่สุด)

- อัตราการเกิดอุบัติการณ์, ภาวะแทรกซ้อน

Patient right & dignity(พิทักษ์สิทธิและศักดิ์ศรี)

- จำนวนคำร้องเรียน

หมายเหตุ: อ้างใน เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ HA 301 หน้า 25

ที่มา

http://narahospital-hacenter.blogspot.com/2009/05/blog-post.html