Clinical risk

ความเสี่ยงทางคลินิก Clinical risk

เหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นกับผู้ป่วยอันมีเหตุเกิดจาก

กระบวนการให้บริการหรือกิจกรรมการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาพยาบาล

หรืออุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์

ตัวอย่างหนัง Me before You

สิทธิ Living and Dieing

อยู่หรือตายขอให้สมศักดิ์ศรี

การขอเลือกเส้นทางตายเองของพระเอก

ครั้งแรกก่อนพบนางเอก อยากตายเนื่องจาก อยู่อย่างไม่มีความสุข เพราะเขาขาดความสุข

ครั้งหลังพบนางเอก อยากตายเนื่องจากมีความสุข อยากให้นางเอกพบกับคนที่ใช่กว่าตน

อาจประกอบด้วย

- Sentinel Events ( Sentinel Events (อุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์/ไมน่าเกิด)

- Iatrogenic injury (โรคหมอทำ)

- Malpractice (เวชปฏิบัติไม่เหมาะสม ไม่เป็นไปตามข้อบ่งชี้) ไม่ทำตามSTDที่ตั้งเอาไว้

- Medical errors (ความคลาดเคลื่นหรือความล้มเหลวของ การไม่สามารถป้องกันได้ การรักษาจากแผนการรักษาที่วางไว้)

- Complication ( Complication (ภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการรักษาที่ไม่ตั้งใจ)

69.9% ของภาวะไม่พึงประสงค์ สามารถป้องกันได้

สำคัญอย่างไร (มาแล้วไม่ปลอดภัย มาร.พ.ทำไม)

1. เป็นคุณภาพพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของโรงพยาบาล

2. นําไปสู่ความเสียหายที่รุนแรงได้

3. ต้องอาศัยความรู้หลักฐานวิชาการ (การ CPR จะเอาของปีไหน ก็ต้องปีปัจจุบันดีที่สุด)

ผุ้ป่วยไม่สามารถป้องกันตัวเองจากอันตรายดังกล่าวได้

4. การบริหารจัดการต้องอาศัยทีมของวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างความเสี่ยงทางคลินิก

1. ความผิดพลาดในการสื่อสารและการระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด

2. ความผิดพลาดของการวนิิจฉัย

3. ความผิดพลาดของการวางแผนการดูแลรักษาพยาบาล

4. ความผิดพลาดหรืออุบัตเหตุในการให้การรักษาพยาบาล

5. อาการหรือภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดหรือการทาหัตถการ

IHI ทางกาย WHO ดูทั้งกายและใจ

เมื่อเกิดความเสี่ยงหรือภาวะไม่พึงประสงค์

1.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน หรือ การบาดเจ็บ ทำดีถึอเป็นกุศลโครตเลย เช่น เจาะเลือดแล้วผิดปกติรีบรายงานเร็วเลย

2.มีภาวะแทรกซ้อน บาดเจ็บแต่ไม่พิการ

3.การบาดเจ็บทำให้พิการชั่วคราว หรือ ถาวร หรือ อยู่โรงพยาบาลนานขึ้น หรือเสียชีวิต

ความเสี่ยงทางคลินิกอาจเกิดได้จาก

ผู้ป่วยไม่ได้รับสิ่งที่ควรจะได้

ผู้ป่วยได้รับสิ่งที่ไม่ควรจะได้

การศึกษาในUSA(Schuster et.al.,1998)

50% ไมได้รับการดูแลด้านการป้องกันโรคตามที่แนะนำ พ่อแม่เป็นลูกต้องได้รับคำแนะนำด้วย

30% ไมได้รับการดูแลด้านการรักษาระยะเฉียบพลันตามข้อบ่งชี้

30% ได้รับการดูรับการดแลรักษาระยะเฉียบพลันด้วยวิธีการที่เป็นข้อห้าม การให้dexaกับผู้ป่วยที่ไม่ควรจะได้

40% ไมได้รับการดูแลรักษาโรคเรื้อรังตามข้อบ่งชี้ DM การส่งตรวจตา ตรวจไต

20% ได้รับการดูแลรักษาโรคเรื้อรังที่เป็นข้อห้าม HT,asthma ได้ยา atenolol, diuretic

ความเสี่ยงส่วนมากป้องกันได้ ความเสี่ยงคือ โอกาสที่จะเกิดในทางที่ ดี หรือ เลว ก็ได้

การศึกษาของม.Harvard (HMPS,1984)

สถานที่ที่เกิดภาวะไม่พึ่งประสงค์ที่สามารถป้องกันได้

-ER 93.3% ป้องกันได้

-ห้องคลอด 78.7% ป้องกันได้

-ICU 70.3% ป้องกันได้

-ห้องผ่าตัด 71.4% ป้องกันได้

การทบทวนคณภาพกับความเสี่ยงทางคลินิก

การทบทวนเวชระเบียน--> 6 ขั้นตอนดูแลผู้ป่วย

การทบทวนข้างเตียง--> C3THER

การทบทวนอื่นๆ

-กทท คำร้องเรียนผุ้ป่วย

-กทท เหตุการณ์สำคัญ เสียชีวิต ภาวะแทรกซ้อน

-การต้นหาความเสี่ยง

-การทบทวนศักยภาพ การส่งต่อ การตรวจรักษา

-การติดเชื้อในรพ.

-การใช้ยา

-การใช้ทรัพยากร

-ตัวชี้วัด

แนวทางการจัดระดับความรุนแรง

The National Coordinating Council for The National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention

9 ระดับ

A-I

  • A ไม่มีความคลาดเคลื่อน แต่มีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน จะทำได้ต้องมีวัฒนธรรมที่ดีมากๆ เช่น ทางลาดชันไปก็ปรับ ระบบการจัดยามีปัญหาก็ปรับก่อน

  • B เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แต่ไม่เป็นอันตราย/ไม่ส่งผลเสียหายเนื่องจากความคลาดเคลื่อนยังไม่ถึงผู้มารับบริการ มีการ doble check

  • C เกิดความคลาดเคลื่อน แต่ไม่เป็นอันตราย/ไม่ส่งผลเสียหายถึงแม้ว่าความคลาดเคลื่อนนั้นจะไปถึงผู้ป่วยแต่ไม่อันตราย

    • โรคตับร้องปวดท้อง คนข้างเตียงนอนไม่หลับ เอาให้ยานอนหลับผิดคนข้างเตียง แต่กินแล้วไม่เป็นไรนอนหลับดี

  • D เกิดความคลาดเคลื่อน แต่ไม่เป็นอันตราย/ไม่ส่งผลเสียหาย ส่งผลให้ต้องมีการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เป็นอันตราย/ไม่ส่งผลเสียหายต่อผู้รับบริการ ให้ยานอนหลับคนไข้โรคตับนอนซึมนานมากขึ้นแต่ไม่เป็นไร

  • E เกิดความคลาดเคลื่อน ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวต่อผู้รับบริการและต้องมีการบำบัดรักษา/แก้ไขเพิ่มเติม แก้ด้วย anexate

    • F เกิดความคลาดเคลื่อน เกิดอันตรายชั่วคราวต่อผู้รับบริการ และ ต้องนอนโรงพยาบาลนานขึ้น ใช้เวลาแก้ไขนานขึ้น ต้องใส่ Tube

  • G เกิดความคลาดเคลื่อน เกิดอันตรายถาวรต่อผู้รับบริการ .ใส่ tube นานไป cerebral anoxia

  • H เกิดความคลาดเคลื่อน เกิดอันตรายเกือบถึงชีวิตต่อผู้รับบริการ ต้องทำการช่วยชีวิต เกิด arrest ต้อง CPR

    • I เกิดความคลาดเคลื่อน เกิดอันตรายจนถึงชีวิตต่อผู้ป่วย

รพ.ที่มีรายงาน A-D มากแสดงว่าที่นั่นดี ระบบดี

แต่ถ้ารายงาน E-I มาก ไม่ดี มักจะปิดไม่อยู่ แต่รพ.ที่มีสูงมักจะอ้างว่าระบบการรายงานดีขึ้นเสมอ

Clinical risk

 Common Clinical risk โรคไหนก็ได้

• เป็นความเสี่ยงโดยทั่วไปในกระบวนการทางการพยาบาล การดูแลผู้ป่วย

 Specific Clinical risk

• เป็นความเสี่ยงเฉพาะตามกลุ่มโรค/หัตถการที่สำคัญ

ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป (Common Clinical Clinical RISK)

-เป็นความเสี่ยงทางคลินิกที่ระบุกว้างๆ ในกระบวนการรักษา

-ไม่จำเพาะต่อโรคใดโรคหนึ่ง

-อาจพบร่วมในหลายคลินิกบริการ

-อาจใช้มาตรการเดียวกันในการป้องกันในภาพรวม การให้ยาผิดคน

-นำไปสู่การค้นหาความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรคได้ การตกเตียง หลับลึก O2 narcosis in COPD เอาไปแก้ไขรายโรคได้

-พบในระยะแรกของการพัฒนา ในระยะถัดมาจะมีความนิ่งและ สามารถแก้ไขได้เป็นส่วนใหญ่

ความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ/เอกซ์เรย์ผิดพลาด

การให้เลือดผิดคน

การให้ยาผิดพลาด

การให้สารน้ำผิดพลาด

การติดเชื้อในโรงพยาบาล

แผลกดทับ

ตกเตียง

ฆ่าตัวตาย/ถูกฆาตกรรม อาจเป็น nonclinical risk ก็ได้ แต่ถ้าเป็น ผุ้ป่วย depression แล้ว suiside ก้เป็น Clinical risk

ความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค Disease-Specific Clinical RISK

หลักการพื้นฐานในการทำงานคุณภาพ

Simplicity ง่าย ทำงานประจำให้ง่ายขึ้น พัฒนาคุณภาพแบบเรียบง่าย

simplicity, innovation. human factors

Joyful มัน จากการได้ทำสิ่งแปลกใหม่ ไม่ถูกกดดัน สัมพันธภาพระหว่างการทำงาน เห็นเป้าหมายมันทัาทาย

Effective ดี ดีต่อตัวเองและทีมงาน ดีต่อผุ้รับผลงาน ดีต่อองค์กร

CQI Evidence-based, pat safety, cli tracer, trigger tools

Spirituality มีสุข ฝ่ากำแพงสู่ความมีจิตใจที่งดงาม

HA 602

http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/ha/Plates/HA%20602%2025-26%20%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%2056/Overview%20Piyawan[2]%20[%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89].pdf