SAR 2018 ตอน III

III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: การเข้าถึง ความครอบคลุม ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาในการเข้าถึง:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการเข้าถึงและเข้ารับบริการ

(1) การตอบสนองปัญหาและความต้องการบริการสุขภาพของชุมชน:

(2) การประสานงานกับหน่วยงานที่ส่งผู้ป่วยมา:

·

(3) การคัดแยก (triage) การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินหรือเร่งด่วนอย่างเหมาะสม:

·

(4) การดูแลเบื้องต้นและส่งต่อ สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้การรักษาได้:

·

(5) การรับผู้ป่วยเข้าในหน่วยบริการวิกฤติหรือหน่วยบริการพิเศษ:

·

(6) การให้ข้อมูลและการขอ informed consent:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

63. การเข้าถึงบริการที่จำเป็นและบริการเร่งด่วน

64. กระบวนการรับผู้ป่วย การให้ข้อมูล และ informed consent

III-2 การประเมินผู้ป่วย

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: ถูกต้อง เหมาะสม รวดเร็ว ปลอดภัย ประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยที่มีโอกาสเกิดปัญหาในการประเมิน:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการประเมินผู้ป่วยและการวินิจฉัยโรค

III-2 ก.การประเมินผู้ป่วย

(1) การประเมินที่ครอบคลุมรอบด้าน การเชื่อมโยงและประสานการประเมิน การระบุปัญหาเร่งด่วน:

·

(2) ความสมบูรณ์ของการประเมินแรกรับ (ประวัติ ตรวจร่างกาย การรับรู้ความต้องการของตน ความชอบส่วนบุคคล จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ:

·

(3) ผู้ประเมิน วิธีการประเมิน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร การใช้ข้อมูลวิชาการเพื่อชี้นำการประเมิน (ยกตัวอย่างโรคที่ใช้ CPG ในการประเมินและประโยชน์ที่เกิดขึ้น):

·

(4)(5) การประเมินในเวลาที่เหมาะสม การบันทึกในเวชระเบียน การใช้ประโยชน์จากบันทึก การประเมินซ้ำ:

·

(6) การอธิบายผลการประเมินให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว:

·

III-2 ข. การส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค

(1)(2) ผู้ป่วยได้รับการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคที่จำเป็น ในเวลาที่เหมาะสม ผลการตรวจมีความน่าเชื่อถือ:

·

(3) การสื่อสาร การบันทึก การสืบค้น ผลการตรวจ:

·

(4) การอธิบายผลการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคแก่ผู้ป่วย:

·

III-2 ค. การวินิจฉัยโรค

(1)(2) การวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง การมีข้อมูลเพียงพอสนับสนุน การบันทึกในเวลาที่กำหนด การบันทึกการเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยโรค:

·

(3) การทบทวนความเหมาะสมและความสอดคล้องของการวินิจฉัยโรค:

·

(4) การกำหนดเรื่องการลดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยโรคเป็นเป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่วย:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

65. การประเมินผู้ป่วยและการส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค

66. การวินิจฉัยโรค

III-3 การวางแผน

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: ความเหมาะสม ปลอดภัย ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ องค์รวม ต่อเนื่อง

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

ตัวอย่างโรคที่คุณภาพการวางแผนดูแลมีความสำคัญ:

ตัวอย่างโรคที่คุณภาพการวางแผนจำหน่ายมีความสำคัญ:

iii. กระบวนการ

III-3.1 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการวางแผนการดูแลผู้ป่วย

(1) การเชื่อมโยงและประสานแผนการดูแลผู้ป่วย:

·

(2) แผนตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการอย่างครบถ้วน:

·

(3) การใช้ข้อมูลวิชาการเพื่อชี้นำการวางแผนการดูแลอย่างเหมาะสม (ตัวอย่างโรคที่ใช้ CPG ในการประเมินและประโยชน์ที่เกิดขึ้น):

·

(4) การให้ผู้ป่วย/ครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผน:

·

(5) แผนการดูแลผู้ป่วยระบุเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ และบริการที่จะให้:

·

(6) การสื่อสาร ประสานงาน เพื่อนำแผนไปปฏิบัติ เข้าใจบทบาทของผู้เกี่ยวข้อง:

·

(7) การทบทวนและปรับแผนตามสภาวะหรืออาการของผู้ป่วย:

·

III-3.2 การวางแผนจำหน่าย

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการวางแผนจำหน่าย

(1) การกำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ และโรคที่เป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญสำหรับการวางแผนจำหน่าย (โรคที่วางแผนจำหน่ายล่วงหน้า หรือใช้ CareMap เพื่อการวางแผนจำหน่าย):

·

(2) การพิจารณาความจำเป็นในการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยแต่ละราย:

·

(3) การมีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่าย (แพทย์ พยาบาล วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ผู้ป่วย ครอบครัว):

·

(4) การประเมินปัญหาของผู้ป่วยที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่าย เพื่อประโยชน์ในการวางแผนจำหน่าย:

·

(5) การเตรียมผู้ป่วยและครอบครัวให้มีศักยภาพและความมั่นใจในการดูแลตนเองหลังจำหน่าย เชื่อมโยงกับแผนการดูแลระหว่างอยู่ใน รพ.:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

67. การวางแผนการดูแลผู้ป่วย

68. การวางแผนจำหน่าย

III-4 การดูแลผู้ป่วย

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: ถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย ทันเวลา ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ คนเป็นศูนย์กลาง ต่อเนื่อง

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

:

:

iii. กระบวนการ

III-4.1 การดูแลทั่วไป

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการดูแลทั่วไป

(1) การมอบความรับผิดชอบให้ผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม การดูแลตามหลักปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ:

·

(2) การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลที่มีคุณภาพ ปลอดภัย คำนึงถึงศักดิ์ศรี เป็นส่วนตัว สะดวกสบาย ป้องกันอันตราย/สิ่งรบกวน:

·

(3) การจัดการกับภาวะแทรกซ้อน ภาวะวิกฤติ หรือภาวะฉุกเฉิน:

·

(4) การตอบสนองความต้องการของครอบครัวในการมีส่วนร่วมดูแลผู้ป่วย:

·

(5) การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสานการดูแลผู้ป่วยภายในทีมเพื่อความต่อเนื่องในการดูแล:

·

III-4.2 การดูแลและบริการที่มีความเสี่ยงสูง

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการดูแลและบริการที่มีความเสี่ยงสูง

(1) การวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยและบริการที่มีความเสี่ยงสูง:

·

(2) การฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง และการนำมาปฏิบัติ:

·

(3) การทำหัตถการที่มีความเสี่ยง:

·

(4) การเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงอาการผู้ป่วย เพื่อแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนแผนการรักษา:

·

(5) การตอบสนองและความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการทรุดลงหรือเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ภาวะวิกฤติ (rapid response system):

·

(6) การติดตาม วิเคราะห์แนวโน้มของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เพื่อนำมาปรับปรุง:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

69. การดูแลทั่วไป

70. การดูแลและบริการที่มีความเสี่ยงสูง

III-4.3 ก. การระงับความรู้สึก

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: เหมาะสม ปลอดภัย ประสิทธิผล

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยใช้บริการระงับความรู้สึก ที่มีความเสี่ยงสูง:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างผู้ป่วยที่เสี่ยงสูง

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพและความปลอดภัยของการระงับความรู้สึก

(1) การประเมินความเสี่ยง การวางแผน การปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เพื่อการระงับความรู้สึกที่ปลอดภัย :

·

(2) การเตรียมความพร้อมผู้ป่วย การให้ข้อมูล และการให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมตัดสินใจ:

·

(3) การใช้กระบวนการระงับความรู้สึกที่ราบรื่น ปลอดภัย โดยบุคลากรที่มีคุณวุฒิ รวมถึงการฝึกอบรม/ฟื้นฟูทักษะของบุคลากรที่ทำหน้าที่ระงับความรู้สึก :

·

(4) การเฝ้าติดตามผู้ป่วยระหว่างระงับความรู้สึกและพักฟื้น การแก้ไขภาวะฉุกเฉิน การจำหน่ายจากบริเวณรอฟื้น:

·

(5) การปฏิบัติตามคำแนะนำของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์ (เครื่องมือ วัสดุ ยา):

·

การดูแลการใช้ deep sedation

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

71. การระงับความรู้สึก

III-4.3 ข. การผ่าตัด

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: เหมาะสม ปลอดภัย ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ

ข้อมูล/ตัวชี้วัด (ตัวอย่าง)

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยผ่าตัดที่มีความเสี่ยงสูง:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างผู้ป่วยที่เสี่ยงสูง

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพและความปลอดภัยของการผ่าตัด

(1) การประเมินผู้ป่วย การประเมินความเสี่ยง การวางแผนการผ่าตัด การปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ:

·

(2) การอธิบายข้อมูลให้ผู้ป่วย/ครอบครัว และการให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมตัดสินใจ:

·

(3) การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด:

·

(4) การป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ผิดหัตถการ:

·

(5) การจัดสิ่งแวดล้อมและระบบงานของห้องผ่าตัดให้มีความพร้อม มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย (ดู SPA):

·

(6) บันทึกการผ่าตัด การใช้ประโยชน์เพื่อการสื่อสารและความต่อเนื่องในการดูแล:

·

(7) การดูแลหลังผ่าตัด และการติดตามภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด:

·

(8) การเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัด:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

72. การผ่าตัด

III-4.3 ค. อาหารและโภชนบำบัด

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: ถูกต้อง เหมาะสม ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยที่การดูแลทางโภชนการมีความสำคัญต่อการฟื้นตัว:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการดูแลทางโภชนาการ

(1) การจัดอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการพื้นฐาน ระบบบริการอาหาร การป้องกันความเสี่ยง:

·

(2) การคัดกรองภาวะโภชนาการ การประเมินอย่างละเอียดเมื่อมีข้อบ่งชี้ การวางแผนและการดูแลทางโภชนาการ/ โภชนบำบัดในกลุ่มผู้ป่วยสำคัญ:

·

(3) การให้ความรู้ด้านโภชนาการและโภชนบำบัดแก่ผู้ป่วยและครอบครัว:

·

(4) บทเรียนเกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหารในการผลิต จัดเก็บ ส่งมอบ จัดการของภาชนะและเศษอาหาร:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

73. อาหารและโภชนบำบัด

III-4.3 ง/จ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย/การจัดการความปวด

III-4.3 ฉ. การฟื้นฟูสภาพ

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: เหมาะสม ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยที่การฟื้นฟูสภาพมีความสำคัญต่อการฟื้นตัว:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการฟื้นฟูสภาพ

(1) การประเมินและวางแผนฟื้นฟูสภาพ:

·

(2) การให้บริการฟื้นฟูสภาพในสถานพยาบาล การช่วยเหลือผู้พิการและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยในชุมชน:

·

(3) การปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎระเบียบ ข้อบังคับ:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

76. การฟื้นฟูสภาพ

III-4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: เหมาะสม ประสิทธิผล ต่อเนื่อง

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

ตัวอย่างโรคที่คุณภาพการให้ข้อมูลและเสริมพลังมีความสำคัญ:

ลักษณะประชากร/ผู้รับบริการที่มีผลต่อการให้ข้อมูลและเสริมพลัง:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการให้ข้อมูลและเสริมพลัง

(1) การประเมิน การวางแผนและกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้:

·

(2) การให้ข้อมูลที่จำเป็น การสร้างการเรียนรู้ เพื่อการดูแลตนเองและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม:

·

(3) การให้ความช่วยเหลือด้านอารมณ์ จิตใจ และคำปรึกษา:

·

(4) การร่วมกันกำหนดแผนการดูแลผู้ป่วยโดยทีมผู้ให้บริการกับผู้ป่วย/ครอบครัว:

·

(5) การจัดกิจกรรมเสริมพลัง/เสริมทักษะให้แก่ผู้ป่วย/ครอบครัว ให้มีความสามารถในการดูแลตนเอง:

·

(6) การประเมินผลกระบวนการเรียนรู้และเสริมพลัง:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

78. การให้ข้อมูลและเสริมพลัง

III-6 การดูแลต่อเนื่อง

i. ผลลัพธ์

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน: เหมาะสม ประสิทธิผล องค์รวม ต่อเนื่อง

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

2557

2558

2559

2560

2561

ii. บริบท

ระดับการให้บริการ:

ลักษณะหน่วยบริการในเครือข่าย:

ตัวอย่างโรคที่การดูแลต่อเนื่องมีความสำคัญต่อประสิทธิผลในการรักษาและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย:

iii. กระบวนการ

ตัวอย่างโรค (proxy disease)

การปฏิบัติที่ทำให้เกิดคุณภาพของการดูแลต่อเนื่อง

(1) การระบุกลุ่มผู้ป่วยสำคัญที่ต้องใช้ขั้นตอนจำหน่ายและการส่งต่อผู้ป่วยเป็นกรณีพิเศษ:

·

(2) การดูแลขณะส่งต่อ บุคลากร การสื่อสาร:

·

(3) ยานพาหนะและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการส่งต่อ:

·

(4) ระบบนัดหมายเพื่อการรักษาต่อเนื่อง ระบบช่วยเหลือและให้คำปรึกษาหลังจำหน่าย:

·

(5) ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กรอื่นๆ เพื่อความต่อเนื่องในการติดตามดูแลผู้ป่วย (รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพแก่หน่วยบริการที่ให้การดูแลต่อเนื่อง) และบูรณาการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ:

·

(6) การสื่อสารข้อมูลของผู้ป่วยแก่หน่วยบริการที่เกี่ยวข้องเพื่อการดูแลต่อเนื่อง:

·

(7) การทบทวนการบันทึกเวชระเบียนเพื่อการดูแลต่อเนื่อง:

·

(8) การติดตามผลการดูแลต่อเนื่องและนำผลการติดตามมาใช้วางแผน/ปรับปรุงบริการ:

·

iv. ผลการพัฒนาที่โดดเด่นและภาคภูมิใจ

·

v. แผนการพัฒนา

มาตรฐาน

Score

DALI Gap

ประเด็นพัฒนาใน 1-2 ปี

79. การดูแลต่อเนื่อง

จบ