1.Learning Key for Sustainability

โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

การเรียนรู้ที่่สำคัญคือ การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง

คือ การ Transformative learning

เริ่มที่การปป.ตัวเอง ต่อมาที่องค์กร

กระบวนการเรียนรู้ต่อการปป. จะสร้างคุณภาพโดยไม่รู้ตัว

คือ leadership skill

เมื่อมีสภาพ T.L. ก็จะมีการพัฒนาต่อเนื่อง

จะพัฒนาความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติ

ถามว่า ใครจะลุกขึ้น เป็นผู้นำกาเปลี่ยนแปลง

ตอบ ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง

ทั้งหมดทุกคนต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทุกคนครับ

เริ่มที่ตนเองก่อน

Everybody is a change agent

จากหนังสือ Transformative learning for practise

สิ่งที่สำคัญในการเปลี่ยน คือ การเปลี่ยน mindset

Mind set ต่อการเปลี่ยนแปลง

จะเกิดได้ต่อเมื่อมีสภาพที่เอื้ออำนวย

คือ ความท้าทายต่อระบบโลกทัศน์เดิม (VACA world)

พวกเราโชคร้ายที่ไม่ค่อยมีอะไรท้าทายมากนัก

แต่การท้าทายสีเขียวมีน้อย

อุตสาหกรรมอื่นมีความท้าทายมาก

เช่น

ตอนนี้แบงค์ท้าทายสุดแรง

เขารู้ตัวเลยว่ามันจะเจ๊งได้

สาธารณสุช โดยเฉพาะภาครัฐ

สภาพภายนอกไม่ร้ายแรง

เราจึงต้องมีวิธีท้าทายตนเอง

เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง

สิ่งสำคัญคือ ต้องมีการท้าทายโลกทัศน์ก่อน

และเมื่อไหร่มี emotion แรง-การเรียนรู้ที่แรง

แล้วจะนำสู่การปป.ที่มีคุณค่าได้

gotoknow merizon

พลัง 6 ตัว for Transformative learning

1.ประสบการณ์ปัจเจก ประสบการณ์ตรง

2.การสะท้อนคิดอย่างจริงจัง Critical reflection

4.dialogue สุทรียสนทนา อย่าพูดให้ฟัง

คืออย่าดีเบต อย่าdiscussion

4.holistic มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน

มองให้ครบด้าน อย่ามองด้านเดียวเพราะโลกเดี๋ยวนี้มัน

VUCA

5.context บริบท

ให้คำนึงถึงcontext ทำงานชิ้นเดียวกัน

แต่คนละcontext เพราะตำแหน่งไม่เหมือนกัน

ประสบการ์ไม่เหมือนกัน

6.relationship ความสัมพันธ์ที่จริงใจ

6.54

Double-Loop learning

ที่ยิ่งใหญ่กว่าคือ การทำลายมาตรฐานเดิม

คือ concept เรื่องนี้

ทำลายเพื่อ ให้ได้สิ่งที่ดีกว่า

พลังของกระบวนการ

-หลังของการเรียนรู้ต้องมี bottom up และ Top down

-สู่การพัฒนาคนในหลายด้าน หลายมีติความเป็นคน

-พัฒนางาน

...องค์กร ระบบ

สำหรับคนทำงาน มี 2 paradyme

2 มุม ท่านจะอยู่ดินอดนสีดำหรือฟ้า

ดำ-ภาระ ความเหนื่อยอยาก เบือ เซ็ง นรก จำใจทำ

ฟ้า-ท้าทาย สนุก ได้เพื่อน สวรรค์ ได้การเรียนรู้

ถ้าอยู่ที่สีดำจะย้ายมาอยู่ที่สีฟ้าได้อย่างไร

-Self transformation tool

-trasformation learning opportunity

วิธีการทำงานแบบ ทำ 1 ได้ 5

คุณบรรยง วงศ์พานิช พูดให้พนักงาน 500 คน

สิ่งที่ยึดมา 40 ปี อย่างไร

เรื่องคนต้องได้ 5 อย่าง

ได้ทำถือเป็นการได้ด้วย

ได้ทำ ได้สตางค์ ได้เรียน ได้สนุก ได้ภูมิใจ

ไปให้ถึงคุณค่า สะท้อนคิดเชิงคุณค่า

สิ่งที่ทำไม่ใช่แค่กำไรบ.แต่ลูกค้าได้ด้วย

หัวใจสำคัญที่สุด ทำอะไรก็ตาม

ต้องตีคุณค่างานที่เราทำให้แตก

แล้ว ชีวิตจะเปลี่ยน

Learning Cycle

close loop ได้จากงานที่ทำ

Open loop ต้องเอาความรู้จากข้างนอกเข้ามาด้วย ข้อมูล มาจรฐาน ใส่เข้ามาในช่วง form cencept

นี่คือหัวใจทำงาน อย่าก้มหน้าก้มตาทำ

เก่งไม่เก่งดูตรงนี้ ต้องเงยหน้าดูโลกภายนอกว่าคนอื่นทำอะไร ไปถึงไหนแล้ว

แล้วถ้าฉลาด มาตรฐานทั้งหลายคือ data หรือ information ใส่เข้าใน concept

การเรียนรู้ต้องเป็น Open loop learning ด้วย นอกจาก double loop แล้ว

1.Corporate exp

2.Observation and reflection

ตั้งคำถาม

ปท.ข้อมูล กฏเกณ มาตรฐาน ความรู้ จากภายนอกเข้ามาด้วย

HA คือเครื่อลมือสร้าง open loop

3.Forming abstract and concept

4.Testing in new operation

15.45

Group reflection AAR

ควรทำเปนกลุ่ม

ทำให้คนอาวุโสน้อยกล้าพูด น้อยพูดก่อน

สิ่งที่ได้คือ

- collaborative Learning การเรียนรู้จากความห็นที่ต่างแตกต่าง

องค์กรใดขาดความคิดเห็นที่ต่างจากเรียนรู้ได้ไม่ถูกไม่กว้างและไม่ลึก

- การเรียนรู้เกี่ยวกับงานวิธีการการ หลักการ ระบบงานทฤษฎีคุณค่า

- การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

- การเรียนรู้ตนเอง

- การเรียนรู้จริยธรรมคุณธรรม

เรียนรู้และเชื่อมโยงปัญญา

1.ต้องขี่ VUCA อย่าเป็นเหยื่อมัน

ที่ใดมีความไม่ชัดเจนมีความไม่เห็นพ้อง

มีความอึดอัดที่นั่นมีโอกาสเรียนรู้สูงสุดนี่คือหัวใจครับ

ผู้บริหารต้องทีการสร้างบรรยากาศที่เปน

Positive psycology

2. เมื่อไหร่ที่ไหนใครมีการทำงานที่นั่นคือโอกาสเรียนรู้

3. ต้องเรียนรู้โดยการแลกเปลี่ยน collaboration

4.ถามหาความเห็นที่แตกต่าง

5.ไม่เน้นถูกผิด

6. เรียนรู้จักการทำงานร่วมกันAAR , story telling

ถ้ามีใครให้ความเห็นอย่างนึง facilitator ต้องถามว่ามีใครมีความเห็นต่างจากนี้

คำถามนั้นแสดงภือ การให้คุณค่าแก่ความต่าง

Learning=change/tranformation

การเรียนรู้จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างถอนรากถอนโคน

1 หัวใจของการเรียนรู้คือการตั้งคำถาม

ตั้งคำถามต่อวิธีการทำงาน นำสู่ single loop learning เท่านั้น

ตั้งคำถามต่อหลักการเป้าหมายและคุณค่าจะนำไปสู่ double loop l.

และเป็นเส้นทางนำไปสู่ และเป็นเส้นทางนำไปสู่

อินโนเวชั่นส์/ทรานส์ฟอร์เมชั่น

ถ้า transform HA

ตีความเกณฑ์ โดยมาตีความเกณฑ์มาตรฐานเพื่อสร้างความหมายใหม่

สุดท้าย

การพัฒนาที่ยั่งยืนก็คือการเปลี่ยนแปลง

การเปลี่ยนแปลงที่ดีที่สุดก็โดยการร่วมมือกัน

การจ่ายอย่างอื่นได้ต้องมีเป้าหมายอันสูงซนมากกว่าความคิดแคบๆที่คิดเฉพาะส่วนของตัวเอง

ต้องใช้วงจรเรียนรู้หลายแบบทั้ง Open Loop Double room Learning

และ ใช้เกณฑ์มาตรฐานเป็นตัวchallenge ไม่ใช่เป็นตัวเพื่อปฏิบัติแต่เอามาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

แล้วก็ chanllenge เกณฑ์มาตรฐานด้วยเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ร่วมกัน

สรุป

Learning key for sustainability

ต้องตั้งคำถาม

-การที่ยั่งยืนได้ต้องมีเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่

-ใช้เกณฑ์มาตรฐานเป็น challenge ไม่ได้ให้มาปฏิบัติ

-และต้อง challenge เกณฑ์มาตรฐานด้วย

การพัฒนาที่ยั่งยื่น คือ การพัฒนาคุณค่าเพื่อเป้าสูงสุด ผ่านการพัฒนาต่อเนือง

ในหลากหลายด้าน

-Collective loop

-Open learning loop

-Double LL

-Trabsformative Learning

โดยสามารถเชื่อมโยงสู่ HAnational forum เป็น Open loop learning

และกระแทหใจ ากว่าดลือกว่าเราเปนคนอยู่ในวงสีฟ้า

หากสีแดง ต้องมองว่ามันเป็นโอกาสเรียนรู้มันท้าทาย

อ.วิจารณ์ พานิช

เพิ่มเติม

) ผู้บุกเบิกการศึกษาแนวนี้ หมายถึง กระบวนการสร้าง “ความหมายใหม่” ให้แก่ประสบการณ์เดิม

เพื่อชี้นำการกระทำของตนในอนาคต โดยมีองค์ประกอบหลัก ๔ ประการ ได้แก่

1.ประสบการณ์ (experience)

2.การใคร่ครวญด้วยวิจารณญาณ (critical reflection)

3.

ที่เกิดจากการใคร่ครวญ (reflective discourse)4.การกระทำ (action) }

Ref.

https://www.gotoknow.org/user/vicharnpanich/posts

https://www.gotoknow.org/posts/503289

https://www.gotoknow.org/posts/283108