สรุปผลทบทวน

Refer

ACS

-ACS ให้่ยาล่าช้า

ปรับระบบยาให้มี ACS box ทำให้ได้ยาที่รวดเร็วขึ้น

ระบบImed มีชุด ACS box

-ผู้ป่วยทรุดลงขณะรอส่งต่อตามสิทธิ

เริ่มจัดการประชุมร่วมระหว่างร.พ. interhospital conference

จนเป็นที่มาของการปรับระบบการส่งตัวทั้งเครือ

จนสามารถลดระยะเวลาการส่งต่อภายใน 30 นาที

โดยไม่ต้องคำนึงเรื่องสิทธิ ทั้งกรณีที่ชัดเจนและรายที่มีความเสี่ยง

-กระบวนการจัดทำกลุ่มส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและยา

เพื่อให้กระบวนการเร็วขึ้นได้ผลทันเวลา

-ในแง่ competency การอ่าน EGK และ CXR

การดูแลในทางคลินิค

-แพทย์ร่วมส่งตัว acute MI

PE ส่งต่อล่าช้าและวินิจฉัยล่าช้าและเสียชีวิต

ส่งต่อช้าการจากวินิจฉัย

-การช่วยแพทย์ประเมิน

-มีการประเมินEKGร่วมกรณีที่admitภายในรพ.

-พัฒนา competency พยาบาล, web ช่วยการอ่านEKG

HI ส่งต่อค่อนข้างมาก อาจทำให้การรักษาล่าช้า

เพิ่มศักยภาพ CT OR ICU จนผ่าตัดได้เอง

ปรับระบบการรักษา

Stroke fast tract

ระบบการประเมิน อ.ยศดนัยมาสอนและมี CPG

NIHS score กำลังขึ้นทะเบียนรอ Imprement

การดูแลเบื้องต้น มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการก่อนส่ง

intrauterine referrral

-ประเมินอายุครรภ์ 34 wk

-<2000 gm

หลังคลอด

-impending respiratory failure

-severe hyperbilirubunemia ที่ต้องได้รับ total exchange transfusion

Revisit

-appendicitis

นำมาปรับระบบการประเมินวินิจฉัยโรค การเฝ้าติดตามอาการ

ในการใช้ Alvarado score รวมถึงการจัดอบรบเรื่องอาการปวดท้อง

เสริมสร้างความเข้าใจแนวปฏิบัตและลักษณะการตรวจร่างกายผู้ป่วย

AGE dyspepsia

-เน้นการให้คำแนะนำกรณีปวดท้องทุกราย

-ตรวจทางห้องปฏิบัติการให้ครบในกรณีที่ผลตรวจและประวัติปวดท้องครบตามเกณฑ์ที่กำหนด

-ปรับระบบ hyperbilirubinemia

การประเมินก่อนกลับบ้าน

การนัดตรวจเร็วขึ้น

-ปรับระบบ hypoglycemia

กำหนดเกณฑ์ในการให้กลับบ้าน

non fasting DTX มากกว่า 180mg%

สองครั้งห่างกัน 1 ชั่วโมง

Readmit

-PCP B24

hyperemesive

-stroke

miss dx

DM HT hypo-hypergly

ปรับระบบการเยี่ยมบ้าน ส่งต่อเยี่ยมบ้านทุกราย

เพื่อลดการ readmit

sepsis

ปรับ empirical antibiotic ตาม antibiogram

CPG การรักษาช็อค แนวทางการแก้ไข

มีการอบรบ ลงหน้างาน วางแผนปรับqSOFA

Re op

-Rebleeding จาก tonsilectomy

ทบทวนผู้เชี่ยวชาญ อ.รรแพทย์

แพทย์ENTปรับระบบผ่าตัดทอลซิล หลังจากปรับระบบ ยังไม่พบ reoperative จากสาเหตุนี้

-

การผ่าตัดดมยา

กระบวนการคำนวนยาโดยใช้น้ำหนักและส่วนสูงมาช่วยในการคำนวน

เพื่อลดการให้ยามากหรือน้อยกว่าความต้องการของผู้ป่วย

Unplan ICU

-ทบทวนจัดทำเกณฑ์ admit ICU และการย้ายผู้ป่วยลงเมื่อถึงเกณฑ์

กระบวนการในการปรับcompetency เรือ่งประเมินผู้ป่วย

ปรับเกณฑ์ MEWS PEWS

criteria

-admit ICU

WI

-ระบบการจอง ICU ก่อนการผ่าตัด

-เกณฑ์การ discharge จาก ICU

CPR

-การ CPR เด็กปรับแยก NB และ เด็ก

มี NB box ที่ห้องฉุกเฉินเนื่องจากของไม่ครบ

ใช้ตาม Rama guideline เนื่องจากการให้ยาไม่ตรง มี Rama card

-พัฒนาcall 1199 แยกคู่สายเพื่อความรวดเร็วในการประกาศcode ฉุกเฉิน

-จัดให้มีการซ้อม การประเมินการซ้อม การผึกอบรม ทั้งจากวิทยากรภายนอก

และจัดอบรบภายใน ทั้งในด้าน ALS และ BLS ตามความจำเป็นของวิชาชีพ

-จัดทำระบบ RRT โดยเห็นความสำคัญในการให้บริการที่จุดนั้นๆ เนื่องจากมีการย้ายและปรับสถานที่ โดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมาที่ห้องฉุกเฉินหรือICU ซึ่งจะเป็นการเสียเวลา

และเสริมเรื่องการประเมินผู้ป่วยก่อนที่จะกลายเป็นภาวะวิกฤต

Dead

-แนวโน้มDead

พัฒนาระบบ paliative care เนื่องจาก พบว่าการเสียชีวิตมีสาเหตุจาก ระยะสุดท้ายของโรคท่ี่เพิ่มมากขึ้นเช่น malignancy, HIV เป็นต้น

การนำ living will เข้ามาใช้ในร.พ.

precare guideline PPS

ความเชื่อทางศาสนา

-multiple trauma dead

พัฒนาระบบ

กำหนดให้มีแพทย์เวรศัลยกรรมทุกวันทุกเวลา

จัดทำ CPG

เสี่ยงฟ้องร้อง

ทบทวนความเสี่ยง การเกิดแผลburnจากการผ่าตัด

การตรวจสอบจากกรมวิทยาศาตร์การแพทย์ บริษัทเครื่องจี้ไฟฟ้า

จนนำมาซึ่งการปรับแผ่นplate เป็นแบบ Inductive wall จนไม่พบ incidence เรื่องนี้อีกเลยใน1-2 ปีที่ผ่านมา

Noso infection

ผ่าตัดเต้านม NI

สอบสวนโรค ไม่พบ

การตรวจทั้งระบบ

การตรวจมาตรฐาน IC ENV

ปรับระบบแอร์ดึงอากาศจากภายนอก

การกำหนดพื้นที่เข้าถึง

ป้ายที่ทางเชื่อมเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าระบบคัดกรอง

ปรับระบบทีมเยี่ยมบ้านของกายภาพ

TKR

stroke

การแบ่งงานทำ

การทบทวน ต้องชัดเจน

ตัวอย่างผลการทบทวน

การทบทวน ระบบการทบทวนทางคลินิค

-จัดให้มี Trigger chart review

-การทบทวนความสมบูรณ์เวชระเบียน

นำมาสู่การปรับระบบครั้งใหญ่ โดยจัดทำเอกสารคล้ายรูปแบบJCI

เพื่อ update ได้รวดเร็ว ชัดเจน และลดการซ้ำซ้อนเอกสาร

มีการจัดทำ Trigger chart review นำผลที่ได้เสนอใน PCT

-ทบทวนกรณีการเสียชีวิตโดยแพทย์ประจำทุกเดือน

และนำเสนอใน section ของ MM conference

-RM เข้ามามีส่วนร่วมใน PCT นำเสนอความเสี่ยงทางคลินิกเพื่อออกแนวทางแก้ไข

-Moming report รายงานและทบทวนความเสี่ยงประจำวัน

คำถาม

*กระบวนการตามรอยผู้ป่วย การทบทวนเวชระเบียน การทบทวนเสียชีวิต ส่งต่อ ทรุดลง Reoperation

ยังไม่ชัดเจนในการนำอุบัติการณ์ที่พบมาสู่การแก้ไขสาเหตุปัญหา

โดยเฉพาะในส่วนวิชาชีพแพทย์ หรือระบบการรักษาของแพทย์ที่มีPart-time มาก และ

competencyพยาบาล จบใหม่ที่มีจำนวนมาก แต่จะแก้ไขโดยการพัฒนา CPG ต่างๆ

มากมาย

บันทึก

แนวการปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง

1.กรณีปรึกษาแพทย์ใน 5 สาขาหลัก

สามารถปรึกษาได้ทันที หากเป็นนอกเวลาไม่เร่งด่วน

นัดมาพบในเวลาทำการ

2.กรณี elective case ที่ต้องการปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง

เช่น nephrologist, neorologist, cardiologist, urologist, ENT, ophalmologist เป็นต้น

สามารถนัดมาตรวจ

ในช่วงเวลาที่แพทย์เฉพาะทางออกตรวจ

โดยดูตามตารางแพทย์ที่ออกตรวจได้

3.ในกรณีผู้ป่วยในให้ใช้แบบบันทึกการ consult

เพื่อกำหนดถึงประเด็นที่ต้องการปรึกษา ความเร่งด่วน

และ เพื่อบันทึกการให้คำปรึกษาหรือการดูแลการตอบแบบ consult

ของแพทย์ผู้รับปรึกษา

4.กรณีดังต่อไปนี้ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง

4.1 Chronic dyspepsia ปวดท้องลิ้นปี่ รักษา 3 ครั้งไม่ดีขึ้น

4.2 ปวดท้องน้อย สงสัยไส้ติ่งอักเสบ หรือ ท้องนอกมดลูก

4.3 มาด้วยอาการเดิมในผู้ป่วยกลุ่มโรคเฉียบพลัน 3 ครั้งไม่ดีขึ้น สามารถส่งปรึกษาแพทย์เฉพาะทางได้ทันที

4.4 ดุลยพินิจของแพทย์หากผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยแพทย์เฉพาะทาง

5.กรณีดังต่อไปนี้ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง

พร้อมส่งต่อเพื่อการรักษาต่อ

5.1 กรณีเจ็บแน่นหน้าอกวิฉัยฉัย MI

5.2 กรณีStroke ที่ต้องให้ยา rtPA

5.3 กรณีทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2000 กรัม

5.4 กรณีผู้ป่วยอุบัติเหตุหลายอวัยวะที่มีการบาดเจ็บของอวัยวะในช่องท้อง

(Fast พบมีเลือดออกในช่องท้อง, ท้องอืดตึง) ?

5.5 second degree burns มากกว่า 20%

5.6 ดุลยพินิจของแพทย์หากผู้ป่วยต้องรับการส่งต่อ