5ส

5ส.จุดเริ่มต้นของการพัฒนา

ไม่ว่าเราจะทำการพัฒนาทุกอย่างไม่ว่าจะเป็น

Risk managment การจัดการความเสี่ยง ของใข้ได้อาจ 80 เสีย 20

Ex: ความเสี่ยงทางคลินิก

QA ISO รับประกันต้องดี 95%

Ex: CPG,Case Mx, Dis.plan, 5ส, prevention maintenance เครื่องมือแพทย์

TQM HA CQI ในระดับของการผิดพลาดที่น้อย

Ex: เน้น outcome improvement

Sig sixma ผิดน้อยมากๆ เช่น 3.4 ในล้านครั้ง

Zero defect ต้องไม่มีการผิดพลาดเลย

ทุกอย่างพื้นฐานต้องดี ต้องเริ่มต้นพื้นฐานที่สำคัญ

คือ 5 ส.

การจัดการระบบ 5 ส ต้องมี คน

1.โรงพยาบาล -คณะกรรมการ5ส รพ

2.พื้นที่ zone- กรรมการโซน- ตรวจทุก3เดือน

3.กรรมการจากแต่ละโซน - การประเมินผล

4.หน่วยงาน -หัวหน้าเป็นผู้ดูแล - ตรวจทุกเดือน

5.พิ้นที่ 5 ส -มีคนรับผิดชอบทุกวัน - ตรวจทุกเดือน

ตรงข้ามกับ 5 ส

สะสม สับสน สกปรก เสียนิสัย เสื่อมสุขลักษณะ

5ส ทำให้เกิด

คุณภาพคน คุณค่าของชีวิต

5 ส

ไม่ใช่แค่การจัดของ

แต่ ระเบียบ สะดวก ประสิทธิภาพ

5 ส.ดังนี้

สะสาง Seiri (เซริ) (ทำให้เป็นระเบียบ) คือ การแยกระหว่างของที่จำเป็นต้องใช้กับของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ขจัดของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทิ้งไป

สะดวก Seiton (เซตง) = สะดวก (วางของในที่ที่ควรอยู่) คือ การจัดวางของที่จำเป็นต้องใช้ให้เป็นระเบียบสามารถหยิบใช้งานได้ทันที

สะอาด Seiso (เซโซ) = สะอาด (ทำความสะอาด) คือการปัดกวาดเช็ดถูสถานที่ สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร ให้สะอาดอยู่เสมอ

สุขลักษณะ Seiketsu (เซเคทซึ) = สุขลักษณะ (รักษาความสะอาด) คือ การรักษาและปฏิบัติ 3ส ได้แก่ สะสาง สะดวก และสะอาดให้ดีตลอดไป

สร้างนิสัย Shitsuke (ซึทซึเคะ) = สร้างนิสัย (ฝึกให้เป็นนิสัย) คือ การรักษาและปฏิบัติ4ส หรือสิ่งที่ กำหนดไว้แล้วอย่างถูกต้องจนติดเป็นนิสัย

รายละเอียด

ส1.สะสาง Seiri-Sort

ห้วใจคือ มั่นใจว่ามีแต่ของที่จำเป็นเท่านั้น ในที่ทำงาน

ลดความสูญเปล่าได้

คือ จำเป็นและเหมาะสม

โดยแยกสองกอง

จำเป็น-ไม่จำเป็น

ของไม่ใช้เอาออกไปจากพื้นที่หาที่เก็บให้ใหม่

1.ของไม่จป คือ ของที่หมดสภาพ หรือมากเกินไป

หรือไม่เกี่ยวกับงาน

ไม่จป ดูว่าใช้ได้ หรือใช้ไม่ได้

ของใช้ไม่ได้ ดูว่ามีค่า หรือ ไม่มีค่า

การจัดการของมีค่า ขายหรือเก็บ reuse ซ่อม เก็บสตอก โอน

2.ของจำเป็น : ดูรายการ ปริมาณ สถานที่

-ใช้ประจำ ไว้อยู่รอบตัว เห็นง่าย หายรู้

-ใช้ครั้งคราว ไว้บนหิ้ง เขียนระบุ จดในรายการ

-นานๆใช้ที เก็บสตอก จดในรายการ มีป้ายบอก

ขั้นตอนทำ : สำรวจ แยก และ ขจัด

ส2 สะดวก

มีทีสำหรับของทุกสิ่ง และของทุกสิ่งต้องอยู่ในที่กำหนด

ของที่จป เก็บไว้ที่ไหน อยู่ในที่

การเก็บต้องมี หลัก 3 ประการ

1.ประสิทธิภาพ สี ป้าย ช่วยให้งาน จัดเรียงเครืองมือตามลำดับขั้นตอน

2.คุณภาพ เก็บงบ สิ่งของวัตถุดิบ ระบบ fifo

3.ความปลอดภัย ไวไฟ เก็บที่ไหน ของหนักใหญ่ เบา

หยิบง่าย หายรู้ ดูามตา หาเร็ว

ส2 ต้องใช้สายตาเป็นหลัก ในการดูว่าสะดวก

คือ หลักการของ Visual Management

ตาเรามองเห็นอะไร

ภาพ เครื่องมือ

สี ถ้งสี

แสง เครื่อวมือแพทย ผ่าตัดแสง

เลเบล

วิธีจัดของให้สะดวก

ขั้นตอนทำ : กำหนดของจำเป็น แบ่งหมวดหมู่ จัดเก็บให้มีระบบเป็นระเบียบ ใช้หลักการบ่อยอยู่ใกล้นานอยู่ไกล

ส3 สะอาด

การทำความสะอาด

สดใส ทำทุกช่วงเวลา

เพื่อหา RCA สิ่งสกปรกมาจากไหน ตามตนที่เกี่ยวทาดู

ทำความสะอาด มี 3 ระดับ

1.ทำความสะอาดประจำวัน สำคัญคือ ทุกคนมีส่วนร่วมทั้งผุ้บริหาร หัวหน้า และเจ้าหน้าที่

2.ทำความสะอาดเพื่อตรวจสอบ

ต้องใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า

เพื่อ. Detect peoblem ดาดู หูฟัง จมูกดม ลิ้นสัมผัส(อาหาร) มือจับ(ร้อนเย็น)

เช่น น่ำมันรั่วอย่าเพิ่งเช็ด ให้ดูว่ารั่วตรงไหน

Jidoka สัญญานเตือน

3.ทำแบบบำรุงรักษา

เช่น แอร์ล้างประจำทุกปี เครื่องมือต้องมีตารางการดูแลเป็นระยะ

หัวใจ ส3 คือ เพื่อการตรวจสอบ

ขั้นตอนทำ : กำหนดพื้นที่รับผิดชอบ ขจัดต้นเหตุความสกปรก ทำความสะอาดแม้จุดเล็กๆ ปัดกวาดเช็ดถูให้สะอาด

ส4.สุขลักษณะ

มีสองความหมาย

-รักษามาตราฐาน

-ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

คือ กำหนดมาตรฐาน ทำ 3 ส แรกให้คงอยู่และปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

หัวใจส.4 กำหนดมาตรฐาน และการปรับปรุงสวล.ให้ดีขึ้น

ขั้นตอนทำ :

-สร้างคูมือการทำงาน ออกแบบระบบ แนวทางปฏิบัติ

-ไม่มีสิ่งของไม่จำเป็นอยู่ในพื่นที่ ไม่รกรุงรัง ไม่มีสิ่งสกปรกตกค้าง

ส5 สร้างนิสัย สร้างความยั่งยืน

กระตุ้น ส่งเสริม ประกวด ให้รางวัล สร้างกำลังใจ

หัวใจ ส5 คือ ทันศนคติที่ดี เพื่อการทำงานเป็นทีม

เป็นการพัฒนาต่อเนื่อง สร้างนิสัย ปฏิบััติตามมาตรฐานที่ได้ว่างไว้

ทำจนเป็นนิสัย

เช่น กำหนดวันต่างๆ big cleaning day, การประกวด เป็นต้น

ขั้นตอนทำ : visual control, วัดประสิทธิผล ประกวดคำขวัญ เปรียบเทียบภาพก่อนหลังทำ

ดูความต่อเนื่อง ไม่เฉพาะเวลาที่ตรวจเพียงอย่างเดียว

ประโยชน์

1. หน่วยงานสะอาด สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย

2. ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็วขึ้น

3. สร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมที่ดีในการท างาน

4. มีความปลอดภัยในการท างาน

5. เพิ่มประสิทธิภาพการท างาน ช่วยการบ ารุงรักษาอุปกรณ์

6. เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่หน่วยงานอื่น

7. เกิดความภาคภูมิใจต่อตนเองและหน่วยงาน

ปจ.พิ้นฐานของการทำ 5 ส

คิอ

การทีส่วนร่วม

...

พนักงานได้อะไร

สะดวก ประสิทธิภาพ

ความมีส่วนร่วม ได้ความรู้

ตัวอย่างการทำ

หน่วยลดของเสีย เพิ่มพิ้นที่

..........

ความสูญเปล่า. Muda

........

หน่วยงานนำเสนอ

เหมือนครู ไม่ได้ทำผิดพลาดนะ

ของหลังตู้ต้องห่าง

ห่าเพดาน 18 นิ้ว-เซน

ล่าง15นิ้ว

ตู้เย็น ลอกเกอร ของอะไรเต็มไปหมด ของกินไม่จำเป็นทิ้ง

ของต้องไม่วางกับพื้น

โต๊ะทำงาน ตู้ทำงาน

แก้วยา เลเบล สติกเกอร

เบตาดีนสะสม ยาของใคร

ผ้ามีแค่ 3 ชุด ชุดคนไข้ที่ีใส่ ชุดซัก และ ชุดหมุนเวียน

การสตอก ต้องมีระบบ min-max

ไม่มากไม่น้อย ให้พอใช้

เช่น กระดาษแดงใส่ขั้น 3 ชิ้นขาดเกินเบิกตามที่ขั้น

888I8888888 ใช้หมดถึงกระดาษแดงก็ถึงเบิก

สะดวก

การเลเบล การใช้สี

สัดส่วนสิ่งของ พอๆกัน

ดูง่าย หายก็รู้ ดูงามตา

สิ่งเล็กน้อยๆ ติดป้าย บางอันไม่ติด ถ้าติดต้องติดทุกอันให้เป็นระบบ

ของหน้าบ้านต้องเก็บให้ดี ไม่โชว์

ตู้เก็บรองเท้า ที่หนีบ มีบ้างไม่มีบ้าง

มาตรฐานเดียวกันทั้งรพ. รองเท้าก็ต้องให้ถูก

ที่ตากกระป๋อง ตากผ้ามักไว้บน หน้าต่าง ต้องไม่มี

เก็บถึงเพดาน ปนก้นหมด ก็ไม่ได้

ถังขยะสีเหมือนกันทั้งรพ.

สิทธิผู้ป่วยที่ทิ้งลงถังต้องคำนึง แกะลำลาก ใช้เมจิกขีดทิ้ง

ถ้งผ้าเปื้อนติดเชื้อตามนน. ผ้าเลอะหมด น้ำซึม หยดพื้น ใช้ผ้าร่มแทนเบาและซักได้

เปิดถังแล้วต้องบล้างมือ

เบิกคืนซาก ระบบคืนซากต้องชัด

ref.

http://www.med.cmu.ac.th/hospital/ha/ha/Document/5%20%E0%B8%AA%20%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.pdf

http://www.edu.nu.ac.th/5seiri/home/seiri.asp