5L1: Catheter, Tubing Connection, and Infusion Pump

Definition

Misconnection: การเชื่อมต่อสายผิดชนิด เช่น การน าสาย enteral feeding เชื่อมต่อกับสาย

สวนหลอดเลือดด า

Disconnection: การเลื่อนหลุดของข้อต่อ เช่นการเลื่อนหลุดของข้อต่อระหว่าง extension

tube และ สายสวนหลอดเลือดด าใหญ่

Infusion pump: เครื่องควบคุมการไหลของสารน ้าซึ่งมีอุปกรณ์ที่ส าคัญหลัก ตัวปรับอัตราการ

ไหล ตัวควบคุมการหยดและสัญญาณเตือนเมื่อเกิดความผิดปกติ

Goal

ลดอุบัติการณ์การเกิดความผิดพลาดจากการต่อสายผิดชนิด (Missconnection) และ

การเลื่อนหลุดของข้อต่อ (Disconnection) รวมถึงความปลอดภัยจาการใช้เครื่องควบคุมการไหล

ของสารน ้า (Infusion pump)

Why

ในสถานการณ์ปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีการใช้ Line and catheter หลากหลายชนิด

และยังมีอุปกรณ์หลายชนิดที่มีความเสี่ยงในการเกิด Misconnection และ Disconnection

รวมถึงความรู้ความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์ที่ถูกต้อง เหมาะสมของผู้ประกอบวิชาชีพ อันน ามา

ซึ่งความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย

Process

1. Avoiding Catheter and tubing misconnection and disconnection

1.1 เน้นย ้าผู้ป่วย ครอบครัวและผู้ดูแล ว่าไม่ควรถอดหรือต่อสายอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง

และขอความช่วยเหลือจากแพทย์/พยาบาลเมื่อเกิดปัญหา

1.2 ก าหนดให้มีการ label high risk catheter (เช่น arterial, epidural, intrathecal) ควร

หลีกเลี่ยงการใช้ catheter ที่มี injection port ส าหรับสายเหล่านี้

1.3 ต้องมีการตรวจสอบสายทุกเส้น ตั้งแต่ต้นทางจนถึงข้อต่อเมื่อก่อนที่จะ connect สาย

disconnect สาย หรือ reconnect สาย

1.4 ใช้กระบวนการ line reconciliation ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการส่งต่อข้อมูล (

Handover communication) โดยมีการตรวจสอบข้อต่อทุกข้อต่อตั้งแต่ต้นทางถึง

ปลายทางที่ต่อกับตัวผู้ป่วย

1.5 ห้ามใช้ หลอดฉีดยา ( syringe) ในการป้อนยาทางปากหรือให้อาหารทางสายยาง

1.6 ใช้การประเมินและทดสอบความเสี่ยง ( FMEA) เพื่อค้นหาโอกาสในการเกิด

misconnection เมื่อจะซื้อ catheter หรือ tubing ชนิดใหม่

2. Avoiding Line & Tubing disconnection

2.1 หลีกเลี่ยงการต่ออุปกรณ์เสริม ( add on device) ที่ไม่จ าเป็นเพื่อลดการปนเปื้อนของ

เชื้อและการหลุดเลื่อน

2.2 หากจ าเป็นต้องมีการเชื่อมต่อ ควรใช้ อุปกรณ์ที่ข้อต่อส่วนปลายมีลักษณะเป็นเกลียว

(Luer lock) เพื่อช่วยยึดตรึงข้อต่อให้เกิดความมั่นคงและลดความเสี่ยงต่อการหลุด

บริเวณข้อต่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่ให้ยาเคมีบ าบัด และผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ เช่น

ผู้ป่วยวิกฤติ

3. Infusion Pump Safety Using

3.1 เลือกใช้ infusion pump ที่มีระบบ free flow protection

3.2 แม้จะมีการบริหารยาและสารน ้าผ่าน Infusion Pump ผู้ป่วยจะต้องได้รับการตรวจ

เยี่ยมและประเมินตามมาตรฐานที่ก าหนด ห้ามใช้สัญญาณเตือน ( alarm) ของเครื่อง

เป็นข้อบ่งชี้ในการประเมินและตรวจเยี่ยมผู้ป่วย

Training

1. บรรจุการฝึกอบรมเกี่ยวกับอันตรายของ Catheter and tubing misconnection and

disconnection ในการปฐมนิเทศและการอบรมประจ าปีของผู้ประกอบวิชาชีพ

2. องค์การควรสนับสนุนให้เกิด Self report ในอุบัติการณ์ หรือ near miss ที่เกี่ยวข้องกับ

Misconnection และ Disconnection เพื่อน าไปเป็นข้อมูลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิง

ระบบ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น

Monitor

1. อุบัติการณ์การเกิด Misconnection และ Disconnection

2. อุบัติการณ์การเกิดความคลาดเคลื่อนของการให้สารน ้าที่เกิดจาก Infusion pump

Pitfall

ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพิจารณาน าอุปกรณ์ที่มีความเสี่ยงในการเกิด Misconnection,

Disconnection ใช้ในโรงพยาบาล ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งจะมีผลในการจัดการเชิง

ระบบในการป้องกันความเสี่ยง

มาตรฐาน HA

การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการ

สุขภาพ ฉบับที่ 4 ตอนที่ III หมวดที่ 4 ข้อ 4.2 การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความ

เสี่ยงสูง (PCD.2) ข้อย่อย (1)

Reference