SPAIII-2 การประเมินผู้ป่วย

ตอน III-I

HA update2018

ตอน III-2 การประเมินผู้ป่วย

ประเด็นสำคัญที่ควรรายงาน:

ถูกต้อง Miss/delay diagnosis : Appen,DHF

เหมาะสม : ....

รวดเร็ว : Fast tract ACS Stroke

ปลอดภัย : unplanned ICU revisitICU 24 hr

ประสิทธิภาพ : ...

ii. บริบท

กลุ่มผู้ป่วยที่มีโอกาสเกิดปัญหาในการประเมิน:

ตัวอย่างการแบ่งกลุ่มเช่น

-ความรวดเร็ว (Urgency/Emergency type)

-ความซับซ้อน (Complexity type)

-ความต่อเนื่อง (Continuous type)

หรือแบ่ง -Acute -Chronic

หรือแบ่ง -ฉุกเฉิน ไม่ฉุกเฉิน

หรือแบ่ง -ตามหน่วยงาน etc.

III-2 ก.การประเมินผู้ป่วย

(1) การประเมินที่ครอบคลุมรอบด้าน การเชื่อมโยงและประสานการประเมิน การระบุปัญหาเร่งด่วน:

-กลุ่มผู้ป่วยซับซ้อน ต้องประสานงานระหว่างวิชาชีพหรือหน่วยงาน

-กิจกรรมการประสานและเชื่อมโยงผลการประเมินผู้ป่วยที่ใช้มากที่สุดคืออะไร

-ต้วอย่างปัญหาและความต้องการเร่งด่วนและสำคัญมีอะไรบ้าง มีการนำข้อมูลนี้ไปใช้ประโยชน์ในการตอบสนอง

ปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับเวลาหรือไม่

-เครื่องมือสำหรับการเชื่อมโยงประสานกัน เช่น guldeline, CPOE etc.

(2) ความสมบูรณ์ของการประเมินแรกรับ (ประวัติ ตรวจร่างกาย การรับรู้ความต้องการของตน ความชอบส่วนบุคคล(preference) จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ:

-การประเมินผู้ป่วยแรกรับตามมาตรฐานข้างต้น มีรายการใดที่ยังมีปัญหาในการประเมิน หรือ ประเมินได้ไม่สมบูรณ์

-แผนกมีการซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ที่สมบูรณ์ที่สุดคือแผนกใด

-หน่วยที่มีการประมินการรับรู้ความต้องการโดยผู้ป่วย การประเมินปัจจัยด้านจิตใจ สังคม เศรษฐกิจ ที่สมบูรณ์ที่สุดคือแผนกใด

-ปัญหาความต้องการประเภทใดที่ควรได้รับการใส่ใจเป็นพิเศษ เช่น การขับถ่าย การกิน การนอน ความกังวล

-ระบบการประเมินความถูกต้อง ครบถ้วนเหมาะสมของการประเมินผู้ป่วยอย่างไร

-ความชอบเฉพาะเพศ วัย

-

(3) ผู้ประเมิน วิธีการประเมิน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร การใช้ข้อมูลวิชาการ เพื่อชี้นำการประเมิน (ยกตัวอย่างโรคที่ใช้ CPG ในการประเมินและประโยชน์ที่เกิดขึ้น):

- กลุ่มโรคที่มักจะมีปัญหาการประเมินที่ไม่เหมาะสมไม่ถูกต้องหรือล่าช้า

- กลุ่มผู้ป่วยจำเป็นต้องมีแนวทางประเมินแยกตามเอกลักษณ์ของปัญหาเช่นผู้ป่วยอายุน้อยผู้ป่วยระยะสุดท้ายกลุ่มผู้ป่วยปัญหาเจ็บปวดหญิงตั้งครรภ์ระหว่างคลอดสงสัยจะติดยาเหยื่อถูกทารุณ

- ประเมินด้วย investigation หรือ invesive procedure ใดบ้างที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย การประเมินใดบ้างที่อาจมีความจำเป็นแต่ไม่มีให้บริการ

- การประเมินในโรคใดบ้างที่ต้องการความเร่งด่วนเป็นพิเศษเนื่องจากมีผลต่อการตัดสินใจและผลลัพธ์ทางคลินิก

- การประเมิน ในโรคใดบ้างที่ต้องมีการแบ่งระดับความรุนแรงหรือระบุสเตช

- ชิ่งการประเมินในภาวะใดบ้างที่มีผลต่อการเลือกยาหรือเทคโนโลยีที่มีราคาแพง

- การประเมินภาวะใดบ้างที่มีผลต่อการป้องกันอุบัติการณ์ซึ่งสามารถป้องกันได้เช่น Falling Pressure sores suicide

- การคัดกรองภาวะใดบ้างที่ควรทำเพื่อส่งต่อไปรับการประเมินอย่างละเอียด เช่น ภาวะโภชนาการ ทันตกรรม การได้ยินและความเจ็บปวด

-เรื่องใดบ้างที่ทำแล้วเห็นผลดี

(4)(5) การประเมินในเวลาที่เหมาะสม การบันทึกในเวชระเบียน การใช้ประโยชน์จากบันทึก การประเมินซ้ำ:

- การกำหนดระยะเวลาที่ต้องประเมินและบันทึกผลประเมินให้แล้วเสร็จ

-ข้อมูลการซักประวัติผู้ป่วยนอกที่แพทย์ได้ใช้ประโยชน์ จากบันทึกของพยาบาลมีอะไรบ้าง

-ข้อมูลสำคัญที่แพทย์เวรไม่ใช่เจ้าของไข้ใช้ประโยชน์มากที่สุดคืออะไร

-ข้อมูลสำคัญที่ต้องใช้ในการจำหน่ายผู้ป่วยคืออะไรเพื่อให้การดูแลที่บ้านครอบคลุมปัญหาของผู้ป่วยทั้งหมด

-การบันทึกข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดปัญหาเมื่อต้องเปิดเผยเวชระเบียนแก่บุคคลภายนอกมีอะไรบ้าง

-แผนกใดที่มีการใช้ข้อมูลข้ามวิชาชีพมากที่สุดข้อมูลของวิชาชีพใดถูกใช้โดยวิชาชีพอื่น

-การประเมินซ้ำการเปลี่ยนแปลงหรือปัญหาอะไรบ้างที่สามารถตรวจพบได้จากการมีระบบประเมินซ้ำที่ดี

-กลุ่มผู้ป่วยโรคไตหรือสภาวะใดบ้างที่การประเมินซ้ำอย่างเป็นระบบมีความสำคัญสูงเช่น นอนICU, 3-4DHF,Traumatic Brain injury, sepsis

-กลุ่มผู้ป่วยใดบ้างที่ประเมินซ้ำไม่จำเป็นต้องบ่อยขนาดประเมินทุกวัน

-ปัญหาอะไรบ้างที่การติดตามการเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ที่เหมาะสมเป็นสิ่งจำเป็น เช่น

ผู้ป่วยที่มาด้วย Progressive และยังไม่สามารถให้ Definte diagnosis ทั้งในและนอก

(6) การอธิบายผลการประเมินให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว:

- ผู้ป่วยกลุ่มใดที่อาจจะมีปัญหาในเรื่องการสื่อสารผลการประเมิน เด็ก ผู้สูงอายุ พิการ ต่างชาติ

-โรคที่จำเป็นต้องมีวิธีการสื่อสารเป็นพิเศษเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจผลการประเมินได้ง่ายมีอะไรบ้าง

-โรคใดบ้างที่ควรเอ็มพาวเวอร์ให้ผู้ป่วยเข้าใจปัญหาและทางเลือกสำหรับปัญหาของตนเอง

III-2 ข. การส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค

(1)(2) ผู้ป่วยได้รับการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคที่จำเป็น ในเวลาที่เหมาะสม ผลการตรวจมีความน่าเชื่อถือ:

- มีการตรวจอะไรที่จำเป็นต้องส่งไปตรวจที่อื่นหรือไม่มีความคล่องตัวในการรับบริการ

- มีโรคอะไรที่การตรวจที่โรงพยาบาลมีอยู่ยังไม่เพียงพอต่อการวินิจฉัยโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

- มีการตรวจใดบ้าง ที่แพทย์ผู้ส่งมักมีข้อสงสัยเกี่ยวกับผลการตรวจ

- มีการตรวจอะไรบ้างหากเกิดความคลาดเคลื่อนจะมีผลต่อ clinical outcomeอย่างรุนแรง

- มีการตรวจอะไรบ้างที่อาจไม่ได้ทำโดยผู้ที่มีความชำนาญและได้รับการฝึกฝน เช่น แลป xray GI series

(3) การสื่อสาร การบันทึก การสืบค้น ผลการตรวจ:

- ช่องทางการสื่อสารกรณีผลเร่งด่วนเป็นอย่างไร

- ช่องทางการสื่อสารผลตรวจที่มีค่าวิกฤตเป็นอย่างไร

- ผลการตรวจอะไรที่ได้รับการบันทึกในเวชระเบียนอะไรที่ไม่ได้รับการบันทึกความสะดวกในการใช้ผลการตรวจในการติดตามเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยเป็นอย่างไร

- ข้อมูลผลการตรวจอะไรบ้างที่ต้องเก็บรักษาเป็นความลับ

- มีโอกาสที่ข้อมูลผลการตรวจจะสูญหายในขั้นตอนใดบ้าง เพราะเหตุใด

(4) การอธิบายผลการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคแก่ผู้ป่วย:

- สถานการณ์ที่การอธิบายผลการตรวจมีความผิดปกติเป็นเรื่องยากที่จะทำความเข้าใจ มีอะไรบ้าง

- ผลการตรวจผิดปกติยากต่อการอธิบายหรือต้องใช้ความละเอียดอ่อนหรือระมัดระวังในการให้ข้อมูลมีอะไรบ้าง

- มีแนวทางที่ชัดเจนในการส่งตรวจเพิ่มเติมเมื่อพบว่าผลการตรวจมีความปกติในเรื่องอะไรบ้าง

III-2 ค. การวินิจฉัยโรค

(1)(2) การวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง การมีข้อมูลเพียงพอสนับสนุน การบันทึกในเวลาที่กำหนด การบันทึกการเปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยโรค:

- การวินิจฉัยโรคที่ไม่เฉพาะเจาะจงหรือการวินิจฉัยโรคตามอาการที่พบบ่อยมีอะไรบ้าง

- โรคที่มักจะเป็นปัญหาในการวินิจฉัยโรคเช่น วินิจฉัยผิด คลาดเคลื่อน หรือ ล่าช้า

(3) การทบทวนความเหมาะสมและความสอดคล้องของการวินิจฉัยโรค:

- ระบบในการทบทวนความเหมาะสมในการวินิจฉัยโรคและข้อมูลสนับสนุนการวินิจฉัยโรคอย่างไร

- ระบบในการทบทวนความสอดคล้องของการวินิจฉัยโรคระหว่างวิชาชีพอย่างไร

(4) การกำหนดเรื่องการลดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยโรค เป็นเป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่วย:

-4P 3: Reduction of Diagnostic Errors

-โรคไหนเขาเราที่น่าสนใจ หรือ เป็น 2Psafety

-Appendic ไม่มันใจ ส่ง CT

-กำหนดเกณฑ์การ CT ในผู้ป่วย HI โดยแบ่ง เกรดของ HI พบ Delay น้อยลง KPI

-เข้าถึงรวดเร็ว Midd Dx. delay dx.

ตอน III-III

ตอน III-IV

ตอน III-V