1S 3.3: Safe Surgical care Process

Definition

เป็นกระบวนการดูแล รักษาผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดหรือหัตถการอื่นๆ ครอบคลุมตั้งแต่

การเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมก่อนผ่าตัด การดูแลให้ปลอดภัยระหว่างผ่าตัดและหลังผ่าตัด

Goal

ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยจากกระบวนการผ่าตัด

Why

มีรายงานจากทั่วโลกพบว่า ครึ่งหนึ่งของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในโรงพยาบาล

เกี่ยวข้องกับการดูแลทางศัลยกรรม และที่ส าคัญเกือบครึ่งหนึ่งของเหตุการณ์เหล่านั้นสามารถ

ป้องกันได้

ซึ่งท าให้เกิดปัญหาค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มขึ้น ระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น รวมทั้ง

ท าให้เกิดปัญหาการฟ้องร้องตามมา ส าหรับประเทศไทยถึงแม้จะไม่มีสถิติให้เห็นชัดเจนแต่ยังมี

ข่าวให้ได้ยินอยู่เสมอ เช่น การคงค้างของเครื่องมือหรือผ้าซับโลหิตในแผลผ่าตัด การผ่าตัดผิดข้าง

หรือ การได้รับบาดเจ็บจากการใช้เครื่องจี้ไฟฟ้า เป็นต้น ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยตลอดทุกระยะของ

การผ่าตัดอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยป้องกันเหตุการณ์พึงประสงค์เหล่านี้ได้

Process

กระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัด ต้องท าอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกระยะ

การผ่าตัด ตั้งแต่ ก่อน ระหว่างและหลังผ่าตัด ดังนี้

ก่อนผา่ ตด ั :

1. เตรียมความพร้อมด้านร่างกายโดย

 ประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการผ่าตัดเพื่อแก้ไข

และป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหลังผ่าตัดตามมาตรฐาน JCI และ AORN

 ตรวจสอบความพร้อมของสภาพร่างกายทั่วไปที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดเหตุการณ์

ไม่พึงประสงค์ในห้องผ่าตัด เช่น ข้อจ ากัดการเคลื่อนไหว

2. เตรียมความพร้อมด้านจิตใจผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลลัพท์ของการผ่าตัด

การฟื้นฟูและการด าเนินชีวิตหลังผ่าตัด

3. ตรวจสอบและทวนสอบความถูกต้องของเอกสารแสดงความยินยอม การระบุชื่อ

นามสกุล ชนิดการผ่าตัด และต าแหน่งที่ผ่าตัด ให้ถูกต้องตามมาตรฐานของ WHO

Surgical Checklist (2009)

4. ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยให้กับผู้ดูแลในระยะผ่าตัดโดยใช้หลักการของ SBAR

ระหว่างผ่าตด ั :

1. เตรียมความพร้อมใช้ของเครื่องมือ อุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ในผู้ป่วยแต่ละราย เช่น เครื่องจี้

ไฟฟ้า เครื่องเลเซอร์ เป็นต้น และใช้ให้ถูกต้องตามคู่มือที่ผู้ผลิตก าหนด

2. เตรียมผู้ป่วยให้พร้อมส าหรับการผ่าตัดแต่ละชนิด ได้แก่

 จัดท่าเพื่อการผ่าตัดให้ถูกต้องตามหลัก body alignment และถูกต้องตาม

เทคนิค/ ขั้นตอนการจัดท่าแต่ละชนิด โดยใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการจัดท่า

แต่ละชนิด และระมัดระวังต าแหน่งที่มีการกดทับ เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของ

เนื้อเยื่อ เส้นประสาท และแผลกดทับ

 เตรียมผิวหนังผู้ป่วยก่อนผ่าตัดโดยค านึงถึงน ้ายาและขั้นตอนการเตรียม

ผิวหนังตามมาตรฐานของ AORN

 ประเมินปัจจัยเสี่ยงและป้องกันการเกิด Deep vein thrombosis โดยปฏิบัติ

ตาม S1.4 และ AORN

3. ป้องกันความผิดพลาดจากการผ่าตัดด้วยการปฏิบัติตาม WHO Surgical Checklist

(S 1.1) โดย

 Sign in ก่อนให้ยาระงับความรู้สึก

 Time out ก่อนลงมีดผ่าตัด

 Sign out เมื่อเสร็จผ่าตัด ก่อนเคลื่อนย้ายออกจากห้องผ่าตัด

4. ตรวจนับผ้าซับ เครื่องมือผ่าตัดและของมีคม ตาม WHO Guidelines for Safe Surgery

หรือ ตาม guideline for prevention of retained surgical items ของ AORN

5. เก็บและส่ง specimens ตามแนวปฏิบัติของหน่วยงาน

6. ดแ ู ลผป ู้ ่ วยโดยคา นึงถง ึ ศก ั ดศ ิ ์ รค ี วามเป็นมนุษยแ ์ ละสท ิ ธผ ิ ป ู้ ่ วย เช่น การใหข้ อ ้ มล ู การ

รักษาความลับ การไม่เปิดเผยร่างกายเกินความจ าเป็น การเคารพในเอกสิทธ์ผู้ป่วย

เป็นต้น

หลง ั ผา่ ตด ั :

1. ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยให้กับทีมผู้ดูแลหลังผ่าตัดโดยใช้หลักการ SBAR ในการสื่อสารส่งต่อ

ข้อมูล และมีระบบ discharge planning หากผู้ป่วยกลับบ้าน หรือ มีระบบการส่งต่อไป

ยังหน่วยงานอื่น

2. ใช้หลัก Early warning signs ในการประเมินและเฝ้าระวังผู้ป่วยหลังผ่าตัด เพื่อป้องกัน

อันตรายจากภาวะแทรกซ้อน ด้วยตัวชี้วัด 6 อย่างคือ respiratory rate, oxygen

saturation, temperature, systolic blood pressure, pulse rate และ level of

consciousness

3. บันทึกข้อมูลที่ส าคัญตามระบบบันทึกข้อมูลของหน่วยงาน

Training

 การอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยศัลยกรรม (perioperative care)

 การอบรมความรู้ให้ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนยีที่เกี่ยวข้องทางศัลยกรรม

 การอบรมการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์เกี่ยวกับการผ่าตัด

Monitoring

 ก าหนดตัวชี้วัดของหน่วยงานให้ชัดเจน

 สร้างแนวปฏิบัติ ส าหรับ procedures ที่ส าคัญหรือที่มีความเสี่ยง

 เฝ้าระวังการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ โดยการเก็บรวมรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อน ามา

วิเคราะห์และหาแนวทางป้องกันอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการรายงานอุบัติการณ์ที่ส าคัญ

เช่น การไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัด การเลื่อนการผ่าตัด

ที่ไม่เร่งด่วนจากสาเหตุความไม่พร้อมหรือการประเมินไม่ครบถ้วนของทีม การเปิดเผย

ความลบ ั ของผป ู้ ่ วย หรอ ื กระทา อ่น ื ใดอน ั โดยไมค่ านึงถง ึ ศก ั ดศ ิ ์ รค ี วามเป็นมนุษยแ ์ ละสท ิ ธิ

ผู้ป่วย เป็นต้น

Pitfalls

 การสื่อสารภายในทีมที่ไม่มีประสิทธิภาพ อาจท าให้เกิดความผิดพลาดได้ง่ายบุคลากรใช้

ความเคยชินในการท างาน ไม่ยึดตามมาตรฐานหรือแนวปฏิบัติอย่างเคร่งครัด หรือขาด

ความรู้และทักษะที่ส าคัญในการปฏิบัติงาน ท าให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ได้

 การประเมินและตรวจสอบข้อมูลที่ส าคัญของผู้ป่วยอย่างเร่งรีบ อาจท าให้เกิดความผิดพลาด

ของข้อมูล

 การปฏบ ิ ต ั ห ิ น้าทโ่ ี ดยไมค่ า นึงถง ึ สท ิ ธผ ิ ป ู้ ่ วยและไมเ่ คารพเอกสท ิ ธข ิ ์ องผป ู้ ่ วย อาจน ามาซง่ ึ

การฟ้องร้องได้

 การส่ง specimens ที่ผิดพลาดส่งผลต่อความผิดพลาดในการวินิจฉัยและการรักษาได้

มาตรฐาน HA

การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการ

สุขภาพ ฉบับที่ 4 ตอนที่ III หมวดที่ 4 หัวข้อ 4.3 การดูแลเฉพาะ (PCD.3) ข. การผ่าตัด