การเขียนSAR

Hospital profile->SAR Process standards part I-III ->SAR Result standards part IV

โดยใช้ Score กำกับ กำหนดประเด็นและใช้ชี้นำความก้าวหน้า

มาตรฐานตอนที่ IV

• เลือกตัวชี้วัดสำคัญที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจของผ้บูริหาร

• นำเสนอด้วยตารางหรือกราฟ ตามความเหมาะสมกับ

ลักษณะข้อมูล

-ตาราง กรณีเป็นข้อมูลง่ายๆ

-กราฟเส้นหรือแท่ง กรณีต้องการแสดงแนวโน้มข้อมูล|

-กราฟแท่ง กรณี ต้องการเปรียบเทียบข้อมูลตามกลุ่มต่างๆ

-ระบุหน่วยนับ และ ช่วงเวลาให้ชัดเจน

• วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้สาระที่เป็นประโยชน์ และแสดงถึง

การใช้ประโยชน์ที่เกิดขึ้น

-ปัญหาเพิ่ม จงวิเคราะห์สาเหตุ

-เท่าเดิม วิเคราะห์เปรียบเทียบตามความเหมาะสม

-อธิบายสาเหตุหรือการปรับปรุงที่ทำให้ผลลัพธ์เปลี่ยนแปลง

• ความยาวในส่วนนี้ไม่เกิน 40 หน้า

ความสำคัญ

เป้าหมายและคุณค่าของการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง

1.เป็นเรืืื่องของการ “สรุป ” และ “สะท้อน” หลังจากทีีี่ได้

พัฒนาคุณภาพมามากมาย”

2.สรุป ผลงานให้เห็นประเด็นสำคัญ เห็นภาพรวม เห็น

การเชืื่อมโยง เห็นผลลัพธ์”

“นอกจากนั้นยังได้มีโอกาสทบทวน ใคร่ครวญ สะท้อน

ความเห็นความรู้สึกของสมาชิกในทีมงานเพืื่อทีี่จะก้าว

ต่อไปข้างหน้า”

SAR สำหรับ HA

เป็นเสมือนกศุโลบายให้

-โรงพยาบาลทำอะไรบางอย่างเพื่อ

ประโยชน์ของโรงพยาบาลเอง

-โดยผู้เยี่ยมสำรวจ

ได้รับผลพลอยได้จากข้อมูลในรายงาน

เป้าหมายของการทำ SAR รายงาน การประเมินตนเอง

• ทีมงานของสถานพยาบาลได้ทบทวนผลการทำงาน

และการพัฒนาคุณภาพร่วมกัน ได้เรียนรู้ร่วมกันถึง

จุดแข็งและโอกาสพัฒนา และวางแผนการพัฒนา

อย่างต่อเนื่อง

• เป็นเครื่องมือสื่อสารให้ผู้เยี่ยมสำรวจและ

คณะกรรมการรับรองได้รับรู้ผลงานการพัฒนาของ

สถานพยาบาลในลักษณะที่กระชับ

การใช้ประโยชน์

1.ทำด้วยความเข้าใจ ไม่เป็นภาระ และเกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ของร.พ.>ผู้เยี่ยม

2.เป็นส่วนหนึ่งของแผนการติดตามการพัฒนาในช่วงกึ่งระยะเวลารับรอง และเป็นตัวกำหนด

ทิศทางของการติดตามความก้าวหน้า

3.การนำเสนอเป็นในฐานะ เป็นภาคผนวกของการเยี่ยมสำรวจ

4.สถาบันจะดูรายงานและทำความเข้าใจ

-หากSARยังไม่สะท้อนถึงความพร้อมที่จะรับการเยี่ยมสำรวจหรือมีความยาวกว่าที่กำหนด

การนำมาใช้ของแต่ละองค์ประกอบทั้ง 4

Self Assessment Report 2011

มาตรฐานตอนที่ I-III

• นำสิ่งที่ทำจริงมาตอบอย่างกระชับ ในลักษณะ bullet

• ตอบง่ายๆ ได้ใจความ: ทำอะไร ทำอย่างไร ผลเป็นอย่างไร

• คำตอบเป็นผลของการปฏิบัติตามแนวทางใน SPA

• สื่อให้เห็นทั้ง ในภาพรวม และรูปธรรมของการปฏิบัติในบางเรื่อง

• ความยาวรวม 3 ตอนไม่เกิน 150 หน้า ตอนI 30 หน้า, ตอนII 70หน้า, ตอนIII 50หน้า

ปรับเพิ่มลดประเด็นและตัวชี้วัดได้ตามความเหมาะสม

• มาตรฐานตอนที่ III รวมของทุก PCT/CLT มาอยู่ในชุดเดียวกัน

ยกร่างฉบับกลางก่อน

แล้ว ให้ PCT/CLT เติม หรือ PCT/CLT ส่งตัวแทนมาร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญ

PCT/CLT Profile และ Clinical Tracer Highlight เป็นส่วนขยาย ของตอนที่ III ที่แต่ละทีมจะสรุปบทเรียนของตน

สรุป

1.สิ่งที่ทำหรือการปฏิบัติ แบบกระชับ

2.ยกตัวอย่าง การปฎิบัติสำรับบางโรค

(อาจซ้ำกับ CTHL ก็ไม่เป็นไร)

ข้อมูลก่อนเขียน

1.ดูมาตรฐาน

2.ดูตามสกอร์

3.รวบรวมสิ่งที่เราทำเอาไว้

ทั้ง KPI. การปรับปรุงและพัฒนา เป็นต้น

ต้องดู Hospital profile ก่อน

เนื่องจาก มันจะบอกบริบท

บอก ทิศทางและผลลัพธ์ที่ควรจะเป็น

context->direction+result

การเขียน รายงานการประเมินตนเอง : SAR 2011

การตอบแบบประเมินตนเอง

• จัดทำอย่างกระชับ ตรงประเด็น ตามแนวทางใน SPA

• พร้อมที่จะนำเสนอคณะกรรมการรับรองได้

• แสดงให้เห็นประเด็นสำคัญของ รพ. และประสบการณ์จริงของ รพ.

• หลีกเลี่ยงการตอบเชิงทฤษฎี แต่แสดงให้เห็นประสบการณ์ บทเรียนหรือผลลัพธ์ จากการนำทฤษฎีมาสู่การปฏิบัติ

• หลีกเลี่ยงการคัดลอกเอกสารที่ รพ.ใช้มาใส่ในแบบประเมินตนเองแต่สรุปใจความสำคัญ ที่มาที่ไป และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• พยายามนำาเสนอผลการทำา mini-research ถ้ามี

• ทำแล้วอ่านกันในทีมงานให้ทัว่ ถึง วิพากษ์และปรับปรุง

ประเมินอะไรดี

• ประเมินสิ่งที่ตนเองทำว่ามีดีอะไร

• ประเมินสิ่งที่ตนเองทำมีโอกาสพัฒนาอะไร

• ประเมินสิ่งที่มีเมื่อเทียบกับมาตรฐาน

• ประเมินข้อPractice ในSPA ว่ามีสิ่งใดที่ทำแล้วสิ่งใดที่น่าทำ

• ประเมินสิ่งต่างๆที่วางระบบไว้ว่ามีการปฎิบัติอย่างไร โดยการตารอย

• ประเมินสิ่งที่ไม่รู้ไม่แน่ใจผ่าน Mini research

ตัวอย่างการใช้ Mini research มาประเมิน

• ข้อสงสัยจากมาตรฐาน III‐1(5) ว่าผู้ป่วยได้รับข้อมูลทีี่จำเป็นอย่างเพียงพอด้วยความเข้าใจหรือไม่

• เก็บ Mini research โดยให้ผู้ช่วยเหลือคนไข้เป็นคนเก็บข้อมูล

• ผลลัพธ์ ผู้ป่วยนอก ทราบวินิจฉัยโรค 93.3% กลุ่มที่ไม่ทราบผลวินิจฉัยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเด็กและผู้ป่ วยหูคอจมูก

• ผู้ป่วยใน ในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ ทราบเหตุผลที่ต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล81.81%/93.75% ทราบแผนการรักษา54.54%/37.5% ทราบสิทธ์การรักษา 90.90%/75%

สรุปประเด็นสำคัญ

จากการทำMini research เพื่อประเมินการ

ได้รับข้อมูลที่จำาเป็นของผู้ป่วยพบว่า ผู้ป่วยส่วน

ใหญ่ไม่ทราบแผนการักษา และยังมีปํญหาเรื่องสิทธิ

การรักษานอกเวลาราชการ จึงมีแผนที่จะพัฒนา

เรื่องการสื่อสารระหว่างแพทย์กับพยาบาล และการ

จัดตัง้ ศูนย์Admit 24 ชั่วโมง เพื่อพัฒนาการให้

ข้อมูลให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น