การวางแผนจำหน่าย

HA Scoring

1.

-การวางแผนจำหน่าย

เน้นการให้สุขศึกษาทั่วๆไปตามแบบแผนที่กำหนดไว้

2.

-การวางแผนจำหน่ายทำได้ดีในกลุ่มที่มีการ

จัดทำแนวทางไว้แล้ว เช่น CareMap

3.

-มีการระบุปัญหา/ความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่ายอย่างชัดเจน,

-มีการเตรียมความพร้อมเพื่อให้ผู้ป่วยและ ครอบครัวสามารถจัดการกับปัญหา/ความต้องการดังกล่าว

4.มีความโดดเด่น

เช่น

-คำนึงถึงมิติต่างๆ อย่าง รอบด้าน,

-ทีมสหสาขา วิชาชีพร่วมกันวางแผน,

-ผู้ป่วยและครอบครัวมี ส่วนร่วม

5.

-มีการประเมิน

-ปรับปรุงกระบวนการวาง แผนจำหน่ายอย่างเป็นระบบ

-ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและช่วยตนเองได้

-มีการฃ ประสานให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยที่ด้อยโอกาสหรือขาดผู้ดูแล

Standard +Criteria เป้าหมาย

(1) [กำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ โรคกลุ่มเป้าหมาย]

มีการกำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ และโรคที่เป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญสำหรับการวางแผนจำหน่าย.

(2) [ประเมินความจำเป็น]

มีการพิจารณาความจำเป็นในการวางแผนจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย ตั้งแต่เริ่มแรกที่เป็นไปได้.

(3) [การมีส่วนร่วม]

การมีส่วนร่วม(แพทย์ พยาบาล วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ผ.ป.และค.ค.)

แพทย์ พยาบาล และวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้ป่วยและครอบครัว มีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่าย.

(4) [ประเมินซ้ำ] [ประเมินซ้ำ ประเมินปัญหา/ความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังการจำหน่าย]

มีการประเมินและระบุปัญหา / ความต้องการของผู้ป่วยที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่าย

และประเมินซ้ำเป็นระยะในช่วงที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลอยู่ในโรงพยาบาล.

(5) [ปฏิบัติตามแผน(เชื่อมโยงกับแผนการดูแล ใช้หลักการเสริมพลัง)]

มีการปฏิบัติตามแผนจำหน่ายในลักษณะที่เชื่อมโยงกับแผนการดูแลระหว่างอยู่ในโรงพยาบาล

ตามหลักการเสริมพลัง เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพและความมั่นใจในการจัดการดูแลสุขภาพของตนเอง.

(6) [ประเมินผล] [ปรับปรุง]

มีการประเมินผลและปรับปรุงกระบวนการวางแผนจำหน่าย

โดยใช้ข้อมูลจากการติดตามผู้ป่วยและข้อมูลสะท้อนกลับจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง.

เป้าหมายมาตรฐาน ผู้ป่วย/ครอบครัว มีศักยภาพและมั่นใจ ในการดูแลตนเอง

การดำเนินงาน-การปรับปรุง SPA+In Action

(1) [กำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ โรคกลุ่มเป้าหมาย]

กำหนดกลุ่มเป้าหมายสำหรับการวางแผน

กำหนดแนวทางการดูแลรักษา

(2) [ประเมินความจำเป็น]

-กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่สามารถรู้ปัญหาหลังจำหนาย

-กำหนดแผนจำหน่ายตั้งแต่แรกรับได้ในกลุ่มนั้น ออกแบบระบบการบันทึกหรือตรวจสอบปัญหา

-กำหนดแนวทางการรับรู้ความจำเป็นในการสางแผนจำหน่ายแต่แรกรับ

(3) [การมีส่วนร่วม]

-ทุกวิชาชีพศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร้จที่มีในองค์กรเรา และ ขยายผล

ทั้งในแง่การปฏิบัติ

ทั้งในแง่การมีส่วนร่วมของคค,ผป

ทั้่งในแง่การระบุปัญหา ความต้องการ

(4) [ประเมินซ้ำ] [ประเมินซ้ำ ประเมินปัญหา/ความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังการจำหน่าย]

ศึกษารูปแบบการประเมินปัญหา

ที่เกิดหลังการจำหน่าย

ที่จะเอื้ออำนวยต่อการวางแผน

(5) [ปฏิบัติตามแผน(เชื่อมโยงกับแผนการดูแล ใช้หลักการเสริมพลัง)]

ประเมินสัมฤทธิผลในการเสร้มทักษะ

ออกแบบกิจกรรมที่เชื่อมโยงในการดูแลผู้ป่วยในร.พกับการดูแลตนเองที่บ้าน

(6) [ประเมินผล] [ปรับปรุง]

มีระบบติดตามผลการดูแล

มีการนำข้อมูลจากการติดตามมาวิเคราห์

นำผลการวิเคราห์มาปรับปรุงการเตรียมความพร้อม

ทำอย่างไรให้ผู้ป่วยมีการเตรียมความพร้อม

ระบบสื่อสารและสนับสนุนให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง

SA2011

การวางแผนจำหน่าย

โรคที่มีการวางแผนจำหน่ายล่วงหน้า หรือใช้ CareMap เพื่อการวางแผนจำหน่าย

บทเรียนในการประเมินปัญหาของผู้ป่วยที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่าย เพื่อประโยชน์ในการวางแผนจำหน่าย

บทเรียนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่าย (วิชาชีพ ผู้ป่วย ครอบครัว):

บทเรียนเกี่ยวกับการเตรียมผู้ป่วยและครอบครัวให้มีศักยภาพและความมั่นใจในการดูแลตนเองหลังจำหน่าย:

ตัวอย่างบทเรียน การพัฒนา

โรคที่มีการวางแผนจำหน่ายล่วงหน้า หรือใช้ CareMap เพื่อการวางแผนจำหน่าย

บทเรียนในการประเมินปัญหาของผู้ป่วยที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่าย เพื่อประโยชน์ในการวางแผนจำหน่าย

-แบบประเมินผู้ป่วยก่อนกลับบ้าน

Discharge plan (แบบรวม)

-

-

บทเรียนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผนจำหน่าย (วิชาชีพ ผู้ป่วย ครอบครัว):

บทเรียนเกี่ยวกับการเตรียมผู้ป่วยและครอบครัวให้มีศักยภาพและความมั่นใจในการดูแลตนเองหลังจำหน่าย: