2.THIP การใช้ประโยชน์

สรุปการอบรม ช่วงบ่าย 15/11/2560

03.การนำ THIP มาใช้ประโยชน์ เพื่อพัฒนาคุณภาพร.พ.

รายละเอียดประกอบไฟล์ด้านบน

อย่าตกเป็นเครื่องมือของเครื่องมือ

คือ ปัญหาการใช้เครื่องมือมันมีเยอะมากหากใช้ทุกอย่างย่อมทำไม่ได้

การเลือกเครื่องมือที่ถูกคือเลือกที่เหมาะสมกับเราอย่างไรนี่เอง

ใช้ตอบตนเองให้ได้

ว่าเครื่องมือนี้ทำให้เกิดการพัฒนาได้อย่างไร

หรือ ยกระดับการพัฒนาได้อย่างไร

เราเอาไปใช้ได้อย่างไร

SMART เป็นเรื่องของ big data

เริ่มจากยุทธศาสตร์ จนกระทั่งนำไปสู่การปป. ทำได้อย่างไร

THIP คือ การหาคู่เปรียบเทียบ ว่าเราอยู่ที่ไหน

การนำ THIPไปใช้ ไปใช้อย่างไรคือ

มาเปรียบเทียบในขั้นตอน

BEST PRACTICE วิธีการปฏิบัติดีสุดอันดับหนึ่ง

BENCHMARK ต้นแบบ

BENCHMARKING การเปรียบเทียบ เพิื่อหา ต้นแบบหรือวิธีบฏิบัติ

ดูว่าองค์กรก่อนและหลังทำ BMing แล้วได้อะไร

ที่ได้คือ

เปลี่ยนจาก mx by experien เป็น mx by fact โดยข้อเท็จจริง

ไม่ใช่ว่าทำแบบนี้เพราะพี่เขาทำมาก่อน

ก็เลยทำตามกันมาไปเรื่อยๆ

ขั้นตอนการทำ THIP

สิ่งสำคัญคือการกำหนดผู้เก็บตัวชี้วัดให้ชัดเจน

เพราะคนรับผิดชอบ KPI

เป็นคนขับเคลื่อนการพัฒนา

คาดว่า Process ดี ผลต้องดี

ถ้าผลไม่ดีต้องปรับ process

1.ต้องเข้าใจprocess ก่อน ต้องนำมาพูดคุยร่วมกัน ถ้าไม่รู้processตรงไหนเราก็จะแก้โดยจัดแค่อบรมๆๆแต่ระบบไม่ถูกแก้ อันดับแรกการแก้ต้องคลี่ระบบก่อน

คือ ถอด process แลัวทำ gap analysis ว่าขาดอะไร

ตัวอย่าง

Sepsis ตายน้อยลง กระบวนการมากมายตั้งแต่มาจนกลับบ้าน

การวัดprocess indicator ไม่จป.ต้องวัดทุกกระบวนการ ให้วัดเฉพาะที่สำคัญหรือ critical processคือกระบวนการที่ถ้าทำได้ดีแล้วจะเป็นผลดี ไม่จ.ป.ต้อง monitor ทุก process เอาอันที่วัดแล้วคุ้มค่า

และดูว่าอะไรเป็น process indicator และ outcome indicator

อยากให้ผู้บริหารใช้

ต้องถามผู้บริหารว่าต้องการอะไร

การเตรียมความพร้อม mx to mc

Scoring GL ผลลัพธ์ผ่าน HA แค่ 2.5-3 ผลจะ 4-5 ได้ต้อง BM กับเพื่อนในเขต จะ5 ได้ต้องมี Innovation ผลถึงจะดี

เป้าหมาย THIP แนวคิด

การออกแบบการวัด 3 วัตถุประสงค์

1.เพื่อวิจัย ก็เพื่อความรู้ใหม่ ระเบียบมาก ชัดเจน ได้ผลลัพธ์ที่บริสุทธิ์

2.เพื่อตัดสิน บอกว้าตกหรือผ่าน เป็นการสอบ เป็นภาระที่ต้องรับผิดชอบ ต้องวัดทั้งหมด เช่น ดูแล70000 ต้องสัดทั้งหมด

3.Improvement เพ้อการพัฒนา HA ทบทวนประสิทธิภาพของระบบการวัดอย่างไร รู้ว่าวัดอะไร แลัวต้องปรับปรุงอะไร

KPI บรรลุความสำเร็จของการวัดหรือไม่

KPI รู้ว่าที่เกินกว่าเป้านั้น เราทำอะไรจึงได้มา หรือ หากไม่ได้เป้าเราจะพัฒนาอะไรต่อ123...

การวัดไม่ได้อยู่ที่ตัวเลขเท่าไร แต่อยู่ที่เราจะทำอะไรต่อ

การวัดนั้นยอมรับ การสุ่มขนาดเล็ก ไม่ใช่วัดเอาทั้งหมดเหมือนแบบภาระรับผิดชอบ

เช่น วัดการเข้าถึงกลุ่ม stemi เป้าเราเอาตัวแทน ผลลัพธ์การเข้าถึงจะดี ปต่ต้องพัฒนาpdca ต่อเนื่อง ทำ cqi 2 รอบถึงจะเป็นการวัดเพื่อพัฒนาอย่างสมบูรณ์

วัดเพื่อq คือคนทำคือคนสำคัญที่ต้องรู้ว่าkpiเป็นอย่างไร

สรุป

การวัดแต่ละเรื่องต้องรู้ว่าวัดไปเพื่ออะไร

Qเพื่อคุนภาพ

Aเพื่อนิเทศ ความรับผิดชอบ เพื่อตัดสิน

เช่น ทำเกินเป้าตลอดแต่เส้นคงที่ไปเรื่อยๆเปรียบekg เหมือนกับ สิ่งที่ตายไปแล้วไม่มีการพัฒนา

ปีหน้าเราก็แค่เอาโครงเก่ามาทำแล้วเปลี่ยนปี กี่ปีกี่ปีก็ใช้แบบเดิม แค่ป.พ.ศ.ก็เท่านั้น

ก็พี่เขาทำมาแบบนี้ สักวันมันก็มีโอกาสล่มได้ กลับไปเราต้องไปปั้มหัวใจหากekgตัวไหนเป็นแบบนี้

ตัวสี ใช้เป็นแค่ Alert ค่าจากต่างป.ท.

การใช้ ianalysis

เส้นสี kpi valve คือเส้นของเรา

แนะนำเอา percentile25 75 median ทั้งหมดร่วมกับ kpi valve 4 ตัวก็พอ

ระวังกรณีที่ n น้อยจะวัดไม่ได้ดี

การป.ป..เช่น ค่า BP จะทำให้ค่าตัวชี้วัดเปลี่ยนแปลงไป เรียกว่า criteria ส่งผลต่อตัวชี้วัด

การกำหนดตัวชี้วัด

Policy ตัวชี้วัดต้นสังกัด

ทิศทางนโยบาย

ทีมต่างๆที่ให้ความสำคัญกับเร้องใด

3 ตัวนี้เป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดตัวชี้วัด

สำคัญคือ รพ.เราสามารถปรับปรุงkpi ตัวนั้นให้ดีได้อย่างไร ถ้าปรับไม่ได้ก็ทำให้ เกิด waste เก็บไปก็สูญเปล่า

Q ระดับองค์กร

Q clinic pct ต้องสัมพันธ์กับ พันธกิจร.พ.

Qตัวชี้วัดใช้ได้จริง มีเส้นทาง เห็นความ สำคัญจริงๆ

Rเพื่อความรู้ใหม่

Final outcome เทียบเคียงกันเป็นตัวปท.

Median ค่ากลาง อยู่ตรงกลาง

Mean ค่าเฉลี่ย เอาทุกตัวมาเฉลี่ยกัน จะดีก็ต่อเมื่อ เป็น normal distribution หากกราฟเบ้ ไปใช้ค่า median ดีกว่า

Function เพิ่มปีนี้

5% trim mean ตัดหัวท้าย เพื่อลด outliner ออกกรณีที่มีค่าสูงเกินไป ต่ำเกินไป

มุมมองเปรียบยเทียลของโปรแกรมทำได้หลายแบบ

ทั้งขนาดรพ. การผ่านการรับีอง พื้นที่ตัง เริ่มมีการใช้ 2 ปี ดีมากมีคนชอบมาก

หากเลือกเล็กลงอาจไม่มีตัวปท.ได้เนื่องจากมีไม่ถึง 4 รพ.ให้เทียบ

Control chart เป็น 1/7 เครื่องมือพื้นฐาน

ตย.

Product

โรงกษาณ์ คือ แบงค์ ให้คุณค่า

สลาก คือ หวย ให่ความหวัง

รพ.คือ service ระบบบริดาร ประกอบด้วนคนจน.มาก complex system ทำงานกับคน ค่าจะแปรผันมาก

Ceramic ผลิต 100 ใบ ออกแบบระบบ ยอมรับได้ 95 % +-2 ความแปรปรวน

หากคนลาแล้วค่าดีขึ้น

เปลี่ยนบริษัทซื้อดินแล้วค่าดีขึ้น

เอาผลลัพธ์จาก control chart มาดูได้เลยแล้วนำมาเปรียบว่าช่วงที่ดีนั้นอะไนเปลี่ยน

เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของระบบ

เช่น ดู ekg ย้อนหลัง

Control chart จะรู้ค่ากลาง นำมาplot กราฟต่อเนื่อง

จะได้ upper และ lower limit +-3SD c-variable +-2sd

ถ้าช่วงไหนค่านั้นเลย ucl จุดเดียว

เรียก out off control แสดงว่าเริ่มมีปัญหา

ดูว่ามี special cause หรือไม่

อาจผิดพลาดนำมาปรับระบบทั้งที่ไม่ใช่

เช่นวันนั้นมีจนท.IT ลาทำให้คอมล่มนาน คนไข้รอคอย แล้วเรามาปรับระบบรอตรวจ ซึ่งไม่ใช่

จะนำ special cause ไปแก้ specific cause ซึ่งไม่ถูกต้อง

การอ่าน control chart 7 จุด

1.Run 7 จุด

หากกราฟยกระดับ7จุดขึ้นไปเกิด center ใหม่ แสดงว่าการปป.นั้นคงเส้นคงวาแล้ว ถ้าเป็นผลจากที่เราพัฒนาก็ok ถ้าไม่ใช่ต้องกลัยไปดู

2.TREND ดู 7 จุด

3.CYCLE ดูว่ากลางวัน กลางคืน ฤดู ไข้เลือดออก

PID POST INTERN DIAGNOSIS ช่วงนี้ตายเยอะ

การใช้ Cont chart ที่ดีต้องมี กระบวนการที่ชัดเจน ต้องทบทวนprotocol ก่อนว่านำไปปฏิบัติจริง และต้องเป็นกระบวนการเดียวกันไม่เทียบกับที่อื่น