กระบวนการดูแลผู้ป่วย

75 การตรวจ investigate ที่จำเป็น

การตรวจประกอบการวินิจฉัยโรค

1.การส่งตรวจ/ส่อต่อ

2.ความน่าเชื่อถือ

3.การสื่อสาร

-ส่งตรวจที่จำเป็น เหมาะสม

-มีการสื่อสาร บันทึกผล ได้ผลทัันเวลา

-รักษาความลับ

-อธิบายผล

-ใช้ IT

-ส่งตรวจ ประเมิน วินิจฉัยโรคที่แม่นยำ

-การประเมินและปรับปรุงกระบวนการ Ix

76 การวินิจฉัยโรค

-ถูกต้องตามอาการนำ

-ครอบคลุมปัญหาทางร่างกายสำคัญทุกระบบ

-มีการบันทึกและการเปลียนแปลงการวินิจฉัย

-ครอบคลุมปัญหาของผู้ป่วย และทุกวิชาชีพ

-มี CPG วินิจฉัยโรค

-มีการทบทวนความครบถ้วนเหมาะสม นำมาปรับปรุง

III-3การวางแผน :

การวางแผนดูแล ระหว่างการรักษา

(วางแผนรักษา

Classic: รู้เลยว่านอนกี่วัน

ทำ Problem list

1.diagnosis นี้หายกี่วัน

2.ไอ จะดีขึ้น วันไหน หากไม่ดีขึ้น

ในวันไหนจะทำอะไรต่อ

ต้องมี activate หากไม่เป็นไปตามแผน)

การวางแผนจำหน่าย เตรียมดูแลต่อที่บ้าน

(รวดเร็วที่สุด เมื่อรู้ว่าผุ้ป่วยจะจำหน่าย

เพื่อไม่ให้กลับมา Readmit, revisit, ลดLOS)

77.การวางแผนดูแลผู้่ปวย

1.การเชื่อมโยง และ ประสานงานในการวางแผน

2.แผนการดูแลผู้ป่วย องค์รวม เหมาะสม

3.ใช้หลักฐานทางวิชาการ

4.ผู้ป่วย ครอบครัวมีส่วนร่วม

5.เป้าหมาย บริการ

6.สื่อสาร ประสานงาน

7.ทบทวน ปรับแผน

ปฏิบัติ เฝ้าระวัง

เป้า ผู้ป่วย ครอบครัวได้รับข้อมูล

-มีแผนการดูแล มีบันทึกการดูแล

ลักษณะแผนการ

-ต้องต่อเนื่อง เชื่อมโยง

-วิชาชีพ-หน่วยบริการทำอย่างประสานกัน

-ตอบสนองต่อปัญหา/ความต้องการผู้ป่วย

-ครอบคลุมเป็นองค์รวม

-มีหลักฐานทางวิชาการหรือCPGชี้นำ

-ครอบครัว/ผู้ป่วยมีส่วนร่วมตัดสินใจการเลือกวิธีรักษาร่วมวางแผน

มีการสื่อสารประสานกันในทีม

-การทบทวน การปรับแผนการดูแล

-ประเมินระหว่างการดูแล

-ทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องกลับมาใหม่หรือเสียชีวิต

แผนอยู่ไหน

ในOrder, progress note

ใบconsult, CPG

78.การวางแผนจำหน่าย

1.กำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ โรคกลุ่มเป้าหมาย

2.ประเมินควมจำเป็น การมีส่วนร่วม แพทย์ พยาบาล วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ผู้ป่วยและครอบครัว

3.ประเมินปัญหา ความต้องการ ที่จะเกิดหลังจากจำหน่าย

4. แผนจำหน่าย ประเมินซ้ำ

5. ปฏิบัติตามแผน เชื่อมโยงกับแผนการดูแล ใช้หลักการเสริมพลัง

6.ปรับปรุง ประเมินผล

เป้า ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพและมั่นใจในการดูแลตนเอง

-กลุ่มโรคเป้าหมายที่ต้องมีแผน

-กำหนดแนวทาง ช้อบ่งชี้

-care map

-มีประเมิน ระบุปัญหา ความต้องการหลังจำหน่าย

-มีการเตรียมความพร้อมจัดการปํญหาที่จะพบก่อนกลับบ้าน

-แบบรอบด้าน วิชาชีพร่วมกัน ผู้ป่วยและครอบครัว

-ประเมินซ้่ำก่อนกลับ

-ปรับปรุงวางแผน ประสานชุมชน

-มีแนวทางประเมินและการบันทึกข้อมูล

-การประเมินต้อง

มีการเชื่อมโยงแต่ละวิชาชีพ

ประเมินทุกระบบ

ตามความต้องการเร่งด่วน สำคัญ

ระบุปัญหา

-ประเมินองค์รวม ประวัติสุขภาพ ตรวจร่างกาย

จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ

-มี CPG ช่วยชี้นำประเมิน

-มีการประเมินซ้ำตามเวลาที่กำหนด

-มีบันทึกผลการประเมินที่ดี

-มีการอธิบายผลการประเมินให้แก่ผู้ป่วย

-มีการส่งตรวจ

-มีการวินิจฉัยโรค

III-2การประเมินผู้ป่วย แรกรับ-การวินิจฉัย

(ประวัติ ตรวจร่างกาย แลป-> การวินิจฉัย)

74.การประเมินผู้ป่วย

1.ปัญหา ความต้องการ เร่งด่วน/สำคัญ

การวินิิจฉัยโรค การทบทวนการวินิจฉัย

2.ประเมินแรกรับ

Hx PE การรับรู้คาวมต้้องการ ด้านจิตใจ

สังคม เศรษฐานะ

ต้องมีความร่วมมือ และมีการประสานในทีมงาน

ต้องมีการวิเคราะห์ การเชื่อมโยงให้เห็นชัด

3.ผู้ป่วย อายุ ปัญหาสุขภาพ ความเร่งด่วน

การศึกษา บริการที่จะได้

-แนวทางปฏิบัติทาง

คลินิก

สิ่งแวดล้อม

ปลอดภัย ทรัพยากร

เทคโนโลยี บุคลากร

เครื่องมือ อุปกรณ์

4.การยบันทึก

การหาสาเหตุของความผิดปกติ

5.การประเมินซ้่ำ

ได้มีการดูแลตามแผน?

ได้มีการวางแผน?

6.อธิบายผล

III-1 การเข้าถึงบริการ และเข้ารับบริการ

( ยังไม่ถึง และ ถึงแล้ว )

1.การเข้าถึง การลดอุปสรรค

กายภาพ ภาษา วัฒนธรรม

ตอบสนองที่รวดเร็ว

2.ดูแลฉุกเฉิน เร่งด่วน

ประเมินผู้ป่วยเบื้องต้น

3.ประเมินความสามารถของอค์กร

การส่งต่อ

การช่วยเหลือเบื้องต้น อธิบายเหตุผล หาที่ส่งต่อ

4.รับไว้ในหน่วย บริการวิกฤติ พิเศษ

เกณฑ์เข้าหน่วยบริการวิกฤติ

การรับไว้ในหน่วยบริการทั่วไป

5.ให้ข้อมูล

สภาพความเจ็บป่วย การดูแลที่จะได้รับ ผลลัพท์และค่าใช้จ่าย

ได้รับการยินยอม

ใช้การให้ข้อมูลและการเสริมพลังมาร่วม

เป้า ผุ้ป่วยเข้ารับบริการทันเวลา เหมาะสม มีประสิทธิผล

71.การเข้าถึงบริการที่จำเป็นและบริการเร่งด่วน

-การเข้าถึง เข้ารับบริการ

-การส่งต่อ

-เกณฑ์เข้าหน่วยวิกฤติและเฉพาะ

-การให้ข้อมูล การได้รับการยินยอม

-ใช้ITลดรอคอย ลดขั้นตอน

72.กระบวนการรับผู้ป่วย

-การscreening

-Fast tract

-เกณฑ์การรับเข้าออกICU

-การ Triage

73.การให้ข้อมูลและ informed consent

-มีการบันทึก

-มีระบบการให้ข้อมูลที่มีความอ่อนไหว

III-4การดูแลผู้ป่วยทั่วไป การดูแลอื่นๆ

-การดูแลทั่วไป

1.มอบหมายรับผิดขอบให้ผู้ที่มีคุณสมบัติหลักปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ

2.สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลที่มีคุณภาพ

3.ดำเนินการเพิ่อความปลอดภัย

4.จัดการกับภาวะแทรกซ้อน วิกฤติ ฉุกเฉิน ดูแลแบบองค์รวม

5.วื่อสาร ประเสานภายในทีมเพื่อการดูแลที่ต่อเนื่อง

6.จืดจสใกำกีลปนะเใืยผฃ

เป้า ผุป้่วยได้รับการดผุแลอย่างทัีนท่วงที ปลอดพัย เหมาะสม ตามาตรฐาน วิชาชีพ

-การดูแลที่มีความเสี่ยงสูง

1.ข้อบ่งชี้ผู้ป่วย และบริการที่เสี่ยงสูง

จัดทำแนวทางการดูแล

2.ฝึกอบรม ปฏิบัติ

3.ทำหัตถการเสี่ยงในสถานที่ เครื่องมือ ผู้ช่วยที่พร้อม

4.เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง แก้ไข ปรับแผนการดูแล

5.ตอบสนองต่อผู้ป่วยที่มีอาากรทรุดลงหรือเข้าสู่ภาวะวิกฤต

ให้ความรู้ การเหลื่อนย้าย

6.ติดตาม วิเคราะห์ ภาะวแทรกซ้อน เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ปรับปรุง

เป้า ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการดูแลอย่างปลอดภัย

-การดูแลเฉพาะด้าน

(สถานที่เหมาะสม คนที่เหมาะสม)

-คนดูแลต้องเหมาะสม ผู้ที่ได้รับมอบหมาย

กำหนดแนวทาง ความรับผิดชอบ

-สิ่งแวดล้อม ความเป็นส่วนตัว

-การป้องกันการบาดเจ็บ การติดเชื้อ อุบัติเหตุ

มีแผนด้านความปลอดภัย บาดเจ็บ ติดเชื้อ

-จัดทำแนวทางดูแลผู้ป่วยแต่ละกระบวนการ WI

-การทำหัตถการที่มีความเสี่ยง sedation ที่ใด

-การจัดการเมื่อมีวิกฤติ ภาวะแทรกซ้อน ฉุกเฉิน

Code Blue,Code mass,Code red

-ตอบสนองแบบองค์รวม

-มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในทีม

การดูแลผู้ป่วยที่เสี่ยงสูง

-SIMPLE

-ประเมินความเสียง จัดทำแนวทาง

-การหัตถการเสี่ยงสูง สถานที่เหมาะสม

-มีการอบรมเพิื่อนำแนวทางมาใช้

การซ้อม อบรม

-ภาวะวิกฤต มีผู้เชี่ยวชาญช่วยเหลือ

-มีการวิเคราะห์ติดตาม เหตุการณ์ เพื่อนำมาปรับปรุง

กระบวนการ

การดูแลพลัดตกหกล้ม

แผลกดทับ

จำนวนผู้ป่วยCPRนอกแผนก

อัตราตายSTEMI

อัตราตายStroke Fast tract

อัตราRupAppen

อัตรามารดาเสีย

ชักจากPIH

HeadInjuryเสียชีวิต

III-5.การให้ข้อมูลและเสริมพลัง

(ให้ข้อมูลก่อนกลับ)

1.ประเมิน วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้

2.ให้ข้อมูล ข่วยเหลือ เรียนรู้

ประเมินการรับรู้

3.ให้ความช่วยเหลือ ด้านอารมณ์จิดใจ

4.กำหนดกลยุทธ์ การดูแลตนเอง

ติดตามปัญหาอุปสรรค

5. เสริิมทักษะ

6.ประเมิน ปรับปรุง ต่อเนื่อง

เป้า ผู้ป่วยและครอบครัว สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้

III-6 การดูแลต่อเนื่อง

(นัดจะติดต่อใคร

เพื่อไม่ให้กลับมา Readmit, revisit, ลดLOS) )

1.ระบบนัดหมาย

ระบบช่วยเหลือ/ให้คำปรึกษา

2.การสร้างความร่วมมือ

ติดตามการดูแลผู้ป่วย

บูรณาการกิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพ

3.การสือสารข้อมูล

4.ทบทวนเวชระเบียน

5.ติดตามผล

6.ปรับปรุง วางแผน

เป้า ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่อง และ ตอบสนองที่รวดเร็ว

Revisit, readmit ลด, การควบคุมโรคทำได้ดี

-

รายการกระบวนการดูแลผู้ป่วย

6 กระบวนการ

12 ขั้นตอน

กิจกรรมและกลุ่มโรคตัวแทน

1.Access

2.Entry

mulitple trauma

HIV

3.Assessment

4.Investigation

DHF Stroke Sepsis

5.Diagnosis

A.appendicitis, Ec.preg,

AMI,HI,UGIBleeding

6.Plan of care

Drug abuse, CA breast

CRF,Sepsis

7.Discharge plan

CVA, HI, COPD

8.Reassess

Drug abuse, CA breast

CRF,Sepsis

9.Care of patient

UGIB,DHF,Sepsis.Alc withdraw

10.Communication

Multiple trauma

11.Information and empowerment

DM,HT ,asthma

stroke , back pain

12.continuity care

TB, spinal inj