กระตุกเพื่อเปลี่ยน

15/3/62 13-13.45

กระตุกเพื่อเปลี่ยน

ลองดูไอเดียว่าสิ่งที่เราจะทำในอนาคตจะมีอะไรได้บ้าง

อีฐ 2 ก้อนแรกผมขอบูชาครูก่อน

1.Anthony wagemakers

ท่านแรกบอกเราว่าอย่าทำให้กระบวนการใดเป็นกระบวนการตรวจสอบและทำให้เป็นกระบวนการเรียนรู้ตั้งแต่เรายังทำมาตรฐานไม่เสร็จ

ท่านสอนเราว่าการใช้คำถามที่จะกระตุ้นให้แต่ละคนได้กลับไปทบทวนงานประจำ

ถามว่าทำไมต้องมีเราอยู่

เราทำอะไรในแต่ละวัน

ทำไมเราถึงทำแบบนั้น

เรารู้ได้อย่างไรเราทำได้ดีหรือไม่เรารู้ได้ยังไงว่าเราทำได้ดีหรือเปล่า

ถ้าเราจะปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อย่างไร

คำถามเหล่านี้ 2 คำถามหลังสำคัญมาก

เป็นคำถามที่ไม่มีคำตอบพวกเราต้องหากันเองและคำถามเหล่านี้เป็นคำถามที่ทำให้วงการแชร์ไม่เหมือนการรับรองคุณภาพอื่นๆ

ท่านอาจารย์จรัสสุวรรณนะเวลาเป็นประธาน HA

ตั้งแต่ปี 2540 เมื่อ 20 ปีที่แล้ว

คุณลักษณะของความเป็นไทยที่ควรนำมาใช้ในhaมีอยู่ 4 ประการด้วยกันวันที่ 10 มีนาคม 2540

1 เรื่องการรักษาศรัทธา

คนไทย มีความศรัทธาในกระบวนการรักษาคุณภาพเราต้องรักษาไว้แต่ต้องมีความรับผิดชอบด้วยความกรุณาเมตตา

2 คนไทยมีความเกรงใจกันมากเวลาไปประเมินอย่าใช้ความเกรงใจ แต่ต้องใช้กัลยาณมิตร กัลยาณมิตร

3 คนไทยมีสัมมาคารวะต้องใช้ความอาวุโสในการขับเคลื่อนเป็นผู้นำ

4 ไม่ควรเขียนค่าควรให้อภัยกัน การประเมินแล้วยังไม่ดีไม่ได้หมายความว่าเขาจะไม่มีโอกาสแก้ตัวแต่ละ

แต่เราจะดูแลกันว่าจะทำให้เกิดการพัฒนาต่อได้อย่างไร

อย่ามุ่งเน้นแต่การรับรองเพื่อการรับรองเป็นของเทียมของแท้คือการพัฒนา

แปลเปน

หน้าที่ HA แปลว่าการพัฒนาและรับรองคุณภาพเราเป็นเสมือน isi + jci ที่ทำหน้าที่สัมภาษณ์แต่พยายามสร้าง Firewall ป้องกันไม่ให้เกิดอคติที่จะ ทำให้เกิดความไม่ไว้วางใจเกิดขึ้น

แล้วเราเห็นผลจนถึงตอนนี้ว่ากระบวนการที่เราไปหน้าที่ประเมินได้รับรองร่วมกับความผิดชอบต่อการพัฒนาคุณภาพทำให้ระบบพัฒนาคุณภาพของประเทศไทยเติบโตและสนุกมากในการที่เราได้เห็นเรื่องราวต่างๆในการพัฒนา

ปีที่แล้วเราพูดถึง Value based health care สามห่วง

ดูคนดูไข้ดูคุ้ม

ปีนี้ขออนุญาตต่อยอด

1.ส่วนทับซ้อนที่น่าสนใจระหว่างดูคนดูไข้

คือการทำให้ผู้ป่วยมีความสามารถหรือมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองได้ มีแนวคิดเรื่องของเพเชี่ยนอ็นเกจเม้นท์กับเพเชี่ยนเอ็มพาวเวอร์เม้นท์เข้ามา

2.ในส่วนทับซ้อนการดูคนกับดูคุ้มน่าสนใจมีการดูแลอันหนึ่งที่ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายดูแลประคับประคอง

จะมีเล่นของพาราทีฟแคร์ซึ่งจะทำให้เรื่องการดูคนและคุ้มค่าร่วมด้วยส่วนของ patient flow ก็เกี่ยวข้อง

3.ส่วนทับซ้อนที่ 3 คือดูไข้กับดูคุ้ม

มีเรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล rdu การใช้ evidence based ในการตัดสินใจมีโครงการอันหนึ่งที่เรียกว่า shoosing wisely

และมีโครงการอันหนึ่งน่าสนใจ

เรื่องResilent healthcare

การมองproductility คู่กับเรื่องของ Safety คือ

มองระบบสุขภาพที่สามารถฟื้นคืนสภาพได้

4.ตัวแทนของการทับซ้อนเพื่อทำให้ดูง่ายแต่ถ้ามองลึกลงไปจะพบว่ามันจะมีส่วนทับซ้อนที่อยู่ตรงกลางเพียงแต่ว่าดีกรีของการทับซ้อนมันจะมากหรือน้อยเท่านั้น

เนื่องจากว่าในสไลด์ต่อไปนี้มีความซับซ้อนนิดนึง

จะขออนุญาตยืนประจำที่

เรื่องความผูกพันผู้ป่วย patient เอ็นเกจเม้นท์

ถ้าเรากลับไปดูความหมาย customer engagement คือ ลูกค้ากับองค์กรมีความเชื่อมต่อกันทำให้เป็น Brand awareness มี Royalty

การเชื่อมต่อโดยการมีปฏิสัมพันธ์มี Reaction interaction หรือมีประสบการณ์และทำให้เกิด Brand awareness และ Brand loyalty รวมถึงมีการบอกต่อกัน

นี่คือความหมายของการละเมิดเอ็นเกจเม้นท์

พอเอาเรื่องของ customer engagement มาใช้ในเรื่องของ patient เอ็นเกจเม้นท์ ทำให้สร้างระดับขั้นของความผูกพันขึ้นมา

ระดับหนึ่งผู้ป่วยพึงพอใจกับบริการที่ได้รับ

ระดับ 2 มีโอกาสซักถามและได้รับข้อมูล

ระดับ 3 มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและวางแผนดูแลตนเอง ตรงนี้จะมี Active participation มีส่วนควบคุม มากขึ้น มีการมีส่วนร่วมมากขึ้นคำถามคือปัจจุบันเราได้ให้โอกาสผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและมีการวางแผนดูแลตัวเองแค่ไหน

ระดับ4 เขามีส่วนมีความเป็นเจ้าของ ownership ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

กรมผู้ป่วยหลายกลุ่มถูก empower ให้ต้องดูแลตัวเองเพราะการดูแลส่วนใหญ่เกิดอยู่ที่บ้านไม่ได้เกิดที่โรงพยาบาลอย่างเดียว

แต่ที่น่าสนใจมากคือการมีส่วนในการสร้างสุขภาวะให้กับสังคม มีมิตรสหายของเราจำนวนมากที่ได้ทำงานร่วมกันเป็น patience advocator เป็น patient เรพรีเซนเททีฟ

สร้างเครือข่ายแล้ว Move ในการช่วยเหลือกัน Move ทั้งในเชิงขับเคลื่อนนโยบาย คำถามคือว่าเราคำนึงถึงศักยภาพของคนเหล่านี้มากน้อยแค่ไหนในโรงพยาบาลของเราที่เราบอกว่าเรามีกำลังควรจำกัดเรานึกถึงคนเหล่านี้ที่มีศักยภาพพร้อมติดอาวุธให้คนเหล่านี้ทำอะไรบางอย่างในสังคมได้หรือไม่

เวลาที่ผมคุยกับบางท่านคิดว่าบางท่านก็จะบอกว่าคิดว่ามันยากกว่าที่จะไปให้คนที่ไม่ใช่วิชาชีพมาทำหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลหรือไปเป็นค่าบวกเขตผมคิดว่าเราอาจจะต้องคำนึงถึงตรงนี้กันใหม่ว่าเราจะเชื่อมั่นเชื่อใจพันธมิตร ในกลุ่มผู้ที่เป็นพันธมิตรของพวกเราได้มากขึ้นได้อย่างไร

ต่อไป

ในส่วนของ Palitive care

เป็นการดูแลทั้งด้าน จิตวิญญาณเรื่องสังคมวัฒนธรรมเป็นเรื่องของมุมมองด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร

ที่น่าสนใจคือคนเป็นศูนย์กลางทั้งคนที่เป็นผู้ดูแลและได้รับการดูแล

ผมเอาโมเดลของ systemic Thinking มาใช้ในการวิเคราะห์ palliative care เราจะพบอะไรบ้าง

เราจะพบ Event บางอย่างว่า

ญาติของเพื่อนเราอาจจะมานอนโรงพยาบาล 4 เดือนแล้วสุดท้ายยอมรับสภาพว่าเป็นโรคที่คงรักษาไม่หายและไม่ติดใจที่จะ investigation อะไรต่อแต่ 4 เดือนที่นอนอยู่โรงพยาบาลเต็มไปด้วยการ suffering กับผู้ป่วย

ของทุกฝ่ายรวมทั้งการใช้ทรัพยากรที่เกิดขึ้น

ถ้าเราดูเทรนและแพตเทิร์นของประเทศที่พัฒนาแล้ว

ในต่างประเทศผู้ป่วยจำนวนหนึ่งหรือจำนวนมากเสียชีวิตอยู่ที่บ้านขณะที่ผู้ป่วยประเทศไทยพยายามมีแนวโน้มที่จะไม่เสียชีวิตที่บ้านแต่น่าเสียชีวิตที่โรงพยาบาลมีโรงพยาบาลบางแห่งพยายามที่จะทำเป็นลักษณะของ Hospice ward

มันมีเรื่องของระบบและ Structure

Assistance ที่จะเพื่อให้ผู้ป่วย palliative สามารถเข้าถึงยาได้รับยาแก้ปวดที่บ้านได้ปรากฏว่าที่ภาคอีสานผู้ป่วยสามารถเข้าถึงยาอัตราการเข้าถึงยาแก้ปวด opioid สูงกว่ากทมเสียอีก

เมื่อประมาณไม่ถึง 10 ปีที่แล้วเพื่อนเป็นวิสัญญีอยู่โรงเรียนแพทย์ต้องเอายาจากโรงเรียนแพทย์ไปด้วยวิธีการที่ไม่มีการรองรับเพื่อไปให้คุณแม่ที่บ้านแต่ในขณะที่ปัจจุบันคนไข้ต่างจังหวัดสามารถเข้าถึงยาตัวนี้ได้ง่ายอันนี้เป็นเรื่องของ System

ประเด็นหนึ่งที่สำคัญที่สุดคือเรื่องของเมนทอลโมเดลเรามีความเชื่ออย่างไรในเรื่องของการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายทั้งในส่วนแพทย์ผู้ป่วยครอบครัวปัจจุบันเราไม่สามารถทำให้เกิดการยอมรับได้ว่าการเสียชีวิตเป็นเรื่องธรรมชาติการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายเป็นเรื่องที่ต้องใช้มิติด้านจิตวิญญาณเรื่องญาติพี่น้องความอบอุ่นและเทคโนโลยีถ้าเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตรงนี้ได้เราก็ต้องเผชิญกับปัญหาที่ต้องสิ้นเปลืองหรือสร้างsuffering มากขึ้นให้กับผู้ป่วยเหล่านี้

เป็นเรื่องที่น่ายินดีว่าขณะนี้มีกลุ่มที่ทำเรื่องสร้างมาตรฐานพันธกิจแขกขึ้นมาเรามีการมุ่งเน้นที่จะมีการรับรองเฉพาะโลกมีการทำ Povision เน็ตเวิร์ค certification และที่น่าสนใจอย่างหนึ่งคือในรอบนี้มีกลุ่ม Doula giver แปลว่าหมอตำแยผู้ให้กำเนิดหมายความว่าให้กำเนิดพวกเขา เตรียมตัว ให้กำเนิดชีวิตใหม่สำหรับพวกเขาหรือเตรียมตัวเพื่อให้เขาไปเกิดใหม่ สามารถแปลความหมายได้หลายๆอย่าง กลุ่มนี้มาสร้าง workshop ให้กับสรพ

แต่นั่นคือการที่ได้เห็นคุณค่าในการที่เขา มาช่วยให้ผู้ป่วยเราก้าวข้ามอะไรบางอย่างที่มันอาจจะไม่เต็มใจหรือไม่มีความสุขนะแต่ก็สามารถช่วยเขาให้ก้าวข้ามเข้าไปได้อันนี้เป็นเรื่องของการดูแลประคับประคองเป็นมุมที่ทับซ้อนระหว่างดูคนกับดูคุ้ม

ถ้าเราทำเรื่องนี้ได้ดีจะช่วยทั้ง 2 มิติคู่กัน

ต่อไปเรื่องของ patienc flow

ถ้าเรื่องของ Patients เช่นพอดีคนไข้พอใจ และทำให้เราประหยัดและมีความคุ้มค่ามากขึ้น

IHI ได้มีโปรแกรมอันนึงที่จะโปรโมทเรื่องของ patients ซึ่งแบ่งผู้ป่วยเป็น 3 กลุ่ม

1. การที่จะปรับหรือลดปริมาณการใช้บริการ

-อันแรกเป็นเรื่องเดียวกันคือการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่นอนอยู่ ICU ทำอย่างไรให้การดูแลตรงนี้เป็นไปตามความปรารถนาของผู้ป่วยนั่นหมายความว่าจะต้องมีการทำ Advance care plan ผ่านการพูดคุยผ่านการทำความเข้าใจว่าเขามีความหวังแค่ไหนและเขาต้องการหรือไม่ต้องการที่จะอยู่ใน ICU ถ้าเราลดเตียงที่ใช้กับผู้ป่วยระยะท้ายเราจะเพิ่มโฟร์ให้คนไข้ที่จำเป็นที่ต้องอยู่ ICU ได้เข้า ICU แล้วเพิ่มเตียงที่อยู่ในหวอดรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นมากขึ้น

- ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินหรือมีความรุนแรงไม่มากที่มาใช้ที่ห้องฉุกเฉินสามารถมาใช้โรงพยาบาลที่เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็กได้

-การลดภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้

ก็ทำให้เขาใช้เตียงน้อยลง

2. เป็นเรื่องของการจัดอุปทาน ให้เหมาะสมกับอุปสงค์

อันนี้เป็นเรื่องของการจัดการ

การใช้ information Technology เข้ามาที่จะสามารถจัดการให้โฟต่างๆ มันmatchกัน

ไม่ได้ไปลดตัว demand แต่ทำให้การซัพพลาย ที่มีอยู่นั้นสามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่มากขึ้น

3. เป็นเรื่องของการรี Design System คือการออกแบบระบบใหม่

ตัวอย่างเช่นทำยังไงเพื่อที่จะดีชาร์จผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในหัวข้อนี้น่าจะเป็นเรื่องที่ผู้บริหารโรงบาลน่าสนใจก็เราจมูกไปได้อย่างไร

ต่อไป

ทับซ้อนระหว่างดูไข้กับดูคุ้ม

ผมจะผ่านเรื่อง rdu ไปจะมาดูเรื่อง Choosing wisely

มันน่าสนใจมาก

กลุ่มที่ทำงานในหลายประเทศได้รับความรู้จากองค์กรวิชาชีพสรุปเอา evidence based guideline มาให้ผู้ป่วยสามารถที่จะเข้าถึงได้

ตัวอย่างของการให้ผู้ป่วยตั้งคำถาม 5 ข้อกับแพทย์

ข้อ 1 จำเป็นไหมว่าผู้ป่วยต้องได้รับการ investigate หรือทำprocedure นี้

2. มันมีความเสี่ยงหรือมี Side effect อะไรบ้าง

3 มันมีวิธีที่ง่ายกว่านี้หรือ มี Option ที่ง่ายกว่าไหม

4 ถ้าไม่ทำอะไรจะเกิดอะไรขึ้น

5ทำแบบนี้แล้วมีค่าใช้จ่ายเท่าไหร่

โดยให้ผู้ป่วยตั้งคำถามกับแพทย์แล้วมาทบทวนว่าเป็นไปตามสิ่งที่แพทย์แนะนำให้ทำหรือเปล่า

ต่อไป

มีข้อแนะนำช่วยในการลดใช้ทรัพยากร ที่ไม่จำเป็น

ตย. AAFP twenty things physicians and patients should Question

1. อย่าไปทำ investing สำหรับผู้ป่วยดูแบบแผนใน 6 สัปดาห์แรกนอกเสียจากว่าจะมีสัญญาณธงแดง ปวดรุนแรงหรืออันตรายชัดเจนถ้าไม่มีสัญญาณเหล่านี้การเ***ซเรย์จะสร้างปัญหามากขึ้น

ต่อไป

ถ้าจะสรุปข้อมูลทางวิชาการออกมาทำให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายเป็นย่อหน้าย่อหน้า

เพราะเราเองมีเวลาน้อยไม่สามารถอ่านเปเปอร์หรือดูตัวเลขและไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจนบางครั้งเราอาจจะต้องใช้ฐานข้อมูลเดียวกันที่เขา Design ให่กับญาติหรือผู้ป่วยทั่วไป

คำถามนี้มันจะเกิดคำถามต่อไปที่บอกว่าเราจะมีมาตรฐานสากลที่ใช้เอาข้อมูลที่มีความสากลเอามาใช้แค่ไหนเรามีเวลาไหมที่เราจะมานั่งทบทวนกันทุกวันสมัยที่ผมเป็นนักศึกษาอาจารย์บอกว่าอยู่ต้องอ่านเปเปอร์วันนะเรื่องพวกเราฟังแล้วอาทิตย์นึงอ่าน 1 เรื่องเรายังอ่านไม่จบเลยคำพูดตอนนั้นยังอยู่ในความจำตลอดและรู้สึกว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เราจะต้องนำมาใช้ถ้าพวกเรานั่งอ่านกันทุกๆวันสิ่งเหล่านี้แล้วเรามาคุยกันไม่เฉพาะกับแพทย์และพยาบาลก็สามารถทำความเข้าใจได้เราหาเวลามานั่งคุยกันว่ามีอะไรบ้างที่จะปรับวิธีการทำงานของเรา เป็นเรื่องของการทำให้เกิดการดูความคุ้มค่าและดูแลผู้ป่วยที่ได้ผลด้วย

ต่อไป

Resilient healthcare

เป็นเรื่องที่มีการพูดถึงกันมากขึ้นประชุมประจำปี

ที่เรียกว่าเรสซิเลีนซ์เฮลท์แคร์อินเตอร์เนชั่นแนลต่อเนื่องกันมา 6 ครั้งแล้ว

มีการตั้ง Center of RH ในออสเตรเลีย

คำนี้หมายความว่าการที่องค์กร หรือว่าพื้นที่ ความสามารถขององค์กรในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลันหรือดิสรัปชั่นหรือปรับตัวให้เข้ากับ Event ที่มันเปลี่ยนแปลงไปหรือการทำให้เราสามารถที่จะสร้างคุณค่าที่ยั่งยืนต่อไปได้

เรื่องนี้มีความสำคัญอะไรแค่ไหน

ถ้าเรากลับไปดูตั้งแต่มี uc ขึ้นมาเราเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่มีเวิคโหลดมากขึ้นตามลำดับ

แต่เราไม่เคยคิดถึงกันว่าระบบว่าเราจะปรับตัวอย่างไรที่จะทำให้ระบบสามารถยั่งยืนได้ในอนาคต

เราอยู่กันตั้งแต่เรามีว่างงานแฝงเร้นมากมาย

กระบวนการคุณภาพจะไปดึงการว่างงานแฝงเร้นมาใช้ประโยชน์ ตามาไม่มีการว่างงานแฝงเร้นใครๆก็ไม่มีเวลามาทำคุณภาพ ถามว่าต่อไป reserve ของเราที่มีอยู่มันหายไปแล้วเราจะทำอย่างไรต่อในอนาคตอันนี้ถ้าเราได้วิเคราะห์แล้วเราได้วางแผนทำความเข้าใจก็จะทำให้เรารับมือได้

ภาพนี้เป็นภาพที่แสดงถึงว่าเราอยู่ในพื้นที่ของแกนตั้งเป็นความซับซ้อนการนอนเรื่องของความที่จะคาดการณ์ได้หรือไม่ส่วนปลายลูกศรเป็นส่วนที่เราซับซ้อนมากที่สุดแล้ว น่าเชื่อถือ ได้มากที่สุดระบบที่เราทำอยู่ตอนนี้ต้องเป็นระบบที่เรียกว่าอยู่ใน reliable space ระบบที่เราทำงานอยู่ตรงนี้เราใช้เครื่องมือที่เป็น Standard ไดเซชั่นทูเพราะมันสามารถทำให้เป็นมาตรฐานได้ง่ายมี checklist มี automation เรามี R C A F M E A เรามีโปรโตคอลเรามีกินข้าวผัดเวต่างๆ ตรงนี้มันจะทำให้เป็นสะเก็ดที่มีความน่าเชื่อถือมากขึ้นโดยใช้เกณฑ์หรือมาตรฐานต่างๆเข้ามาช่วย

พอระบบที่มันขยับขึ้นมาคือ robust area

เป็นระบบที่มันแข็งแกร่งมากขึ้นมีเครื่องมืออะไรบ้างที่เรามาใช้

1 เล่ม 2 pdf A3 clinical audit 4 เบนซ์มาร์คกิ้งผ้าดีดีไซน์ 6 clinical guideline

ระบบที่ขยับขึ้นมาอีกคือ resilient

มันจะออกไปอยู่ที่ปายที่เป็นการทับซ้อนและมีความสามารถพยากรณ์ได้น้อยกลายเป็นว่าเราจะใช้ process oriented ไม่ได้เราจะระบุให้ชัดเจนไม่ได้ว่าเราทำอะไรแต่เราต้องใช้ระบบ Goal oriented คือต้องเอาเป้าหมายเป็นตัวตั้งว่าเราต้องการเป้าหมายอะไรและเปิดโอกาสให้มีความยืดหยุ่นเข้าใจเราต้องทำความเข้าใจอะไรบ้าง

เขาบอกว่าการปรับตัวและความคิดสร้างสรรค์ตอนที่อยู่ในreliiable Space สเกิร์ตข้างล่างการปรับตัวที่ว่าไม่ทำตามแนวทางที่วางไว้เขาเรียกว่าเป็นภาระหรือเป็นreliabilityของพื้นที่ตรงนี้

แต่มันกลับจำเป็นสำหรับพื้นที่ด้านบนสำหรับ resilience Space ต้องการการปรับตัวต้องการความคิดที่สร้างสรรค์

ในบางตำราที่พูดถึงเรื่อง Business health care จะพูดถึงเรื่องโปรดักติวิตี้และเรื่อง Safety ทับกัน

โปรดักติวิตี้พูดถึงเรื่องภาระงานที่เพิ่มขึ้นจะปรับอย่างไรเพิ่มขึ้นชั่วคราวจะปรับอย่างไรและเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจะปรับอย่างไรและเรื่องความปลอดภัยจะพูดถึงในเรื่องของความปลอดภัย

ต่อไป

ระบบปกติเราจะสนใจ 20% คือทุกสิ่งทุกอย่างที่มันเกิด incident ขึ้นมาเราสนใจว่าจะไปป้องกันอย่างไรเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดตรงนั้นเราเรียกแนวคิดนี้ว่า Safety 1

เช่น incident มอนิเตอร์ริ่งการทำ RCA Hand hygiene Hand Over checklist inquiriez etc.

แต่เราไม่ได้สนใจ 90% ที่ทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มีปัญหา

มันเป็นไปอย่างถูกต้องโดยคนที่ทำงานในระบบนั้นพยายามตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆที่คาดการณ์ไม่ได้

เพราะฉะนั้นในแนวคิดเรื่องของเซฟตี้ One กับเซฟตี้ทู

มีคนพยายามที่จะโปรโมทเรื่องของเซฟตี้ทูมา

ก็คือว่าเขาตั้งไป focus ที่สิ่งที่มันถูกต้องแล้วจะทำอย่างไร

กลับไปที่โฟกัสอะไรในนเซฟตี้วันเราไปเอา incident มาแล้วมาดูว่ามันเกิดขึ้นเพราะอะไรพยายามหา root cause analysis

แต่ใน safety 2 จะถามว่าใน 90 หรือมากกว่า

.......