3M 1.2: Safe from Preventable Adverse Drug Reactions (ADR)

แพ้ยาซ้ำ แพ้ยากลุ่มเดียวกัน

Definition

Adverse drug Reaction คือ การตอบสนองของร่างกายต่อยาที่ได้รับในขนาดยาปกติ เกิดเป็นอันตรายขึ้นโดยไม่ตั้งใจ และไม่ได้เกิดจากความคลาดเคลื่อนทางยา มีความหมายรวมถึงการ

แพ้ยาและการเกิดผลข้างเคียงจากยา

Side effect คือผลข้างเคียงซึ่งเป็นผลของยาที่ทราบกันอยู่แล้วและเป็นฤทธิ์ทางภสัชวิทยาของยานั้น แต่ไม่ได้ตั้งใจทำให้เกิดขึ้น

Goal

ผู้ป่วยปลอดภัยจากการแพ้ยาซ ้า แพ้ยากลุ่มเดียวกัน

Why

พบผู้ป่วยแพ้ยาซ ้า แพ้ยากลุ่มเดียวกัน และยังพบความเข้าใจผิดท าให้เหตุการณ์

ดังกล่าวไม่ได้ถูกน ามาทบทวนและแก้ไข

Process

1. ทบทวนค าจ ากัดความของ แพ้ยาซ ้า แพ้ยากลุ่มเดียวกัน ให้เป็นแนวทางเดียวกัน (อ้างอิง

จาก ADCoPT)

Drug Allergy: อาการแพ้ยาเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันของ

ร่างกายต่อยาที่ได้รับ

แพ้ยาซ ้า: เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยแพ้ยา ซึ่งเป็นยาตัวเดียวกับที่เคยมีประวัติแพ้ โดยมีอาการ

แสดงที่ เหมือนกัน

แพ้ยากล่ม ุ เดียวกน ั : เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ยา จากยาที่มีโครงสร้างคล้ายกับยาที่

มีประวัติแพ้โดยมีอาการเหมือนกัน

หมายเหตุ กรณีสงสัย pseudoallergy จากยากลุ่ม NSAIDs แพ้ยากลุ่มเดียวกัน จะหมายถึง

เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยมีอาการคล้ายแพ้ยาแบบ immediate reaction เหมือนกัน เช่น angioedema หรือ

urticaria โดยเกิดจากยา NSAIDs ทม่ ี ก ี ลไกการออกฤทธย ิ ์ บั ยงั้ COX-I เหมือนกัน ถึงแม้จะเป็นยาที่

มีโครงสร้างทางเคมีที่แตกต่างกัน เช่น ผู้ป่วยเคยมีประวัติแพ้ยา aspirin แบบ angioedema มา

รักษาครั้งนี้ได้รับยา ibuprofen หลังรับประทานยา 10 นาทีมีอาการ angioedema กรณีเช่นนี้ถึงแม้

ibuprofen และ aspirin จะมีโครงสร้างทางเคมีแตกต่างกัน แต่อาการแสดงของการแพ้น่าจะเกิดจาก

กลไกการออกฤทธข ิ ์ องยา aspirin และ ibuprofen ที่ยับยั้ง COX-I เช่นเดียวกัน กรณีผู้ป่วยรายนี้ให้

นับเป็น “แพ้ยากลุ่มเดียวกัน”

2. จัดท า Work flow การซักประวัติแพ้ยาเบื้องต้นและการส่งต่อเภสัชกรเพื่อซักประวัติหากยัง

ไม่มีฐานข้อมูลในโรงพยาบาล

3. จัดท าแนวทางซักประวัติอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ในการ

ประเมินผลการแพ้ยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. จัดท าแนวทางการประเมินและจัดการผู้ป่วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Active

case) เพื่อให้การประเมินเป็นไปอย่างมีระบบสามารถหายาที่สงสัยได้อย่างถูกต้อง

5. จัดท าแนวทางประเมินประวัติผู้ป่วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เพื่อให้การ

ประเมินประวัติการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในอดีตที่ผู้ป่วยมาแจ้งเป็นไปอย่าง

เป็นระบบ ได้ข้อมูลที่เพียงพอต่อการตัดสินใจให้การรักษาผู้ป่วยอย่างปลอดภัย

6. จัดท าแนวทางการบันทึกข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาเพื่อให้การส่งต่อข้อมูลการ

เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาให้บุคลากรทางการแพทย์เป็นไปในแนวทางเดียวกัน

ครอบคลุมทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน

7. จัดท าแนวทางการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยที่เคยเกิด ADR ที่มีรายละเอียดมากพอที่จะเป็น

ประโยชน์ต่อการประเมินให้มากที่สุด

8. จัดท าแนวทางการออกบัตรแพ้ยา/บัตรเตือนเรื่องยา และการบันทึกข้อมูลในบัตร ให้เป็น

แนวทางเดียวกันมีข้อมูลครบถ้วน และค าแนะน าที่เหมาะสม ให้บุคลากรทางการแพทย์มี

ข้อมูลเพียงพอในการตัดสินใจรักษาผู้ป่วยโดยไม่ท าให้ผู้ป่วยเกิดอันตรายจากการแพ้ยาซ ้า

แพ้ยากลุ่มเดียวกัน

Training

1. ฝึกอบรมเภสัชกรทุกคนให้สามารถซักประวัติและประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

อย่างเป็นระบบ หากเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ควรมีผู้รับผิดชอบรวบรวมข้อมูลและ

ทบทวนการประเมินของเภสัชกรเพื่อน ามาพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่อง

2. ให้ความรู้การแพ้ยากลุ่มเดียวกัน รายการยาที่อาจแพ้ยากลุ่มเดียวกัน ลักษณะอาการไม่พึง

ประสงค์ที่มักเกิดขึ้น เพื่อให้แพทย์ พยาบาล ช่วยกันเฝ้าระวังและรายงานหากพบเหตุการณ์

Monitoring

1. ความคลาดเคลื่อนทางยา (การสั่งยา การจ่ายยา และการบริหารยา) ผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา

2. อุบัติการณ์ผู้ป่วยแพ้ยาซ ้า

3. อุบัติการณ์ผู้ป่วยแพ้ยากลุ่มเดียวกัน

Pitfall

การไม่รายงานเข้าสู่ระบบเพื่อน าข้อมูลดังกล่าวมาทบทวนเพื่อวางระบบป้องกัน เนื่องจากความ

เข้าใจผิดว่าไม่ได้เกิดจากระบบโรงพยาบาล

มาตรฐาน HA

การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพ

ฉบับที่ 4 ตอนที่ II หมวดที่ 6 ระบบการจัดการด้านยา (MMS) ข้อ 6.1 ก. การก ากับดูแลการ

จัดการด้านยา (3) ข. สิ่งแวดล้อมสนับสนุน (4)