3M 1.1: Safe from High Alert Drug

Definition

High Alert Drugs คือ ยาที่ต้องระมัดระวังสูงเพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วยอย่าง

มน ี ัยสา คญ ั เพราะเป็นยาทม่ ี ด ี ชั นีการรกั ษาแคบหรอ ื มก ี ารออกฤทธท ิ ์ เ่ ี ป็นอน ั ตราย เช่น ยาตา้ น

การแข็งตัวของเลือด ยารักษามะเร็ง เป็นต้น

Goal

1. ลดความคลาดเคลื่อนของยาความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงหากถึงตัวผู้ป่วย

2. ลดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาความเสี่ยงสูง

Why

1. พบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา Bleeding จากการใช้ Warfarin, Heparin

เหตุการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาเคมีบ าบัด (Phlebitis, Hypersensitivity, Extravasation ฯลฯ)

Hyperkalemia จาก Potassium Chloride, Respiratory depression จาก Narcotic drug

2. พบความคลาดเคลื่อนทางยาหากถึงตัวผู้ป่วยหรือติดตามไม่ดีอาจส่งผลให้เกิดอันตรายจาก

การใช้ยา

Process

โรงพยาบาลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรก าหนดรายการยาที่มีความเสี่ยงสูงหรือยาที่

ต้องมีความระมัดระวังการใช้สูง และมีแนวทางปฏิบัติที่มีการสื่อสารท าความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้อง

โดยมีการก ากับติดตามการใช้ยาอย่างเหมาะสม เช่น

1. วิธีการเพื่อป้องกันอันตราย

 จัดท าชุดค าสั่ง, preprinted order forms, และ clinical pathways หรือ protocols ซึ่ง

สะท้อนวิธีการรักษาที่เป็นมาตรฐานส าหรับผู้ป่วยที่มีปัญหา สภาวะของโรค หรือความ

ต้องการที่คล้ายคลึงกัน

 ลดความหลากหลายโดยการก าหนดมาตรฐานความเข้มข้นและขนาดยาให้มีน้อยที่สุด

เท่าที่จ าเป็น

 พิจารณาจัดตั้ง anticoagulation services ซึ่งด าเนินการโดยพยาบาลหรือเภสัชกร

 จัดให้มีข้อความเตือนใจและข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการติดตามการใช้ยาที่เหมาะสมอยู่ใน

ชุดค าสั่ง, protocols, และ flow sheets

 พิจารณาจัดท า protocols ส าหรับกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ผู้สูงอายุ

2. วิธีการเพื่อค้นหาความผิดพลั้งและอันตราย

 บรรจุข้อความเตือนใจและข้อมูลเกี่ยวกับ parameter ที่เหมาะสมส าหรับการติดตามการ

ใช้ยาในชุดค าสั่ง, protocols, และ flow sheet

 สร้างความมั่นใจว่าผู้ที่ต้องการใช้ข้อมูลผลการตรวจทดสอบทางห้องปฏิบัติการที่ส าคัญ

สามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้

 น าแนวทาง double-checks โดยอิสระแก่กันไปใช้ เมื่อมีความเหมาะสม

3. วิธีการเพื่อบรรเทาอันตราย

 จัดท า protocols อนุญาตใหม ้ ก ี ารใชส ้ ารต้านฤทธิ ์(reversal agents) โดยไม่ต้องรอแพทย์

 สร้างความมั่นใจว่ามี antidotes และสารตา้ นฤทธิ ์(reversal agents) พร้อมใช้

 มีแนวทางช่วยชีวิต (rescue protocols)

Training

ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานทุกคน (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร) ในเรื่องการค านวณขนาดยา

และการผสมยาที่ถูกต้อง รวมถึง Antidote ที่ใช้หากพบปัญหา

Monitoring

ความคลาดเคลื่อนทางยา (การสั่งยา การค านวณ การจัดจ่ายยา การเตรียมยา การ

บริหารยา)เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น (Adverse Drug Event) เช่น Bleeding,

Thrombocytopenia

Pitfall

การค านวนขนาดยาที่มีโอกาสคลาดเคลื่อน และการใช้ร่วมกับ LMWH

ตัวอย่างที่ 2: Inotropic drug, Dopamine injection, Dobutamine injection, Norepinephrineinjection

รายการยา

Inotropic drug

Dopamine injection

Dobutamine injection

Norepinephrine

injection

ปัญหาที่พบ

1. การสั่งยาเป็นสัดส่วน

(1:1, 2:1) ท าให้มีการ

เตรียมยาและบริหาร

ยาคลาดเคลื่อน

2. การสั่งยาที่ไม่ชัดเจน

เช่น Dopamine 1:1

drip keep BP 90/60

ท าให้มีความ

หลากหลายในการ

Titrate ขนาดยาของ

แต่ละคน บาง

สถานการณ์อาจส่งผลให้เกิดเหตุการณ์ไม่

พึงประสงค์

3. การใช้ตัวย่อ DA, DB,

LP

4. ความเข้มข้นยาที่มี

หลากหลายเสี่ยงต่อ

การจัด จ่าย และ

เตรียมยาคลาดเคลื่อน

5. เกิด Gangrene จาก

การใช้ยา High dose

กระบวนการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา

1. การคัดเลือกรายการยาในบัญชียาควรมีเพียง 1

ความเข้มข้น

2. ก าหนดมาตรฐานการเจือจางที่เหมือนกันทั้ง

โรงพยาบาลและมีความเข้มข้นสูงสุดส าหรับยาแต่

ละรายการ

3. ก าหนดให้มีเครื่องมือค านวณขนาด (dose) และ

การ Titrate ตามน ้าหนัก (dosing charts) ส าหรับ

ผู้ป่วยที่มีน ้าหนักตัวต่างๆ

4. การสั่งยาไม่ใช้ค าย่อ ควรระบุขนาดยาที่ต้องการ

ปริมาณสารละลาย ขนาดยาที่จะให้เพิ่ม/ลดแต่ละ

ครั้ง ระยะเวลาที่ให้ติดตามและปรับขนาดยา BP

หรือ MAP ที่ต้องการ รวมถึงก าหนด Max dose/day เช่น Dopamine 200mg + D5W 100ml

IV drip start 5 mcdrop/min titrate ครั้งละ 3

mcdrop/min ทุก 15 นาที keep BP>90/60 mgHg

5. การเตรียมยาให้ได้ตามความเข้มข้นมาตรฐานที่

โรงพยาบาลก าหนด และบริหารยาโดยเลือก

Large peripheral vein หรือ Central line โดยให้

ผ่าน Infusion pump และตรวจสอบเครื่อง

infusion pump สม ่าเสมอ อย่างน้อยทุก 30 นาที

หรือทุกครั้งที่ปรับขนาดยา ห้ามหยุดให้ยาทันที

ต้องค่อยๆลดขนาดยาลงมาตามค าสั่งแพทย์

6. การติดตามหลังให้ยา ก าหนดให้มีแนวทางการ

ติดตาม BP, HR, Urine output, Extravasation,

Phelbitis ตามระยะเวลาที่เหมาะสม และรายงาน

แพทย์หากพบความผิดปกติ

Training

ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานทุกคน (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร) ในเรื่องการค านวณขนาดยา

Maximum concentration, Maximum rate และการเลือกสารละลายผสมยาที่ถูกต้อง

Monitoring

ความคลาดเคลื่อนทางยา (การสั่งยา การค านวณ การจัดจ่ายยา การเตรียมยา การ

บริหารยา)เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น (Adverse Drug Event) เช่น Vascular ischemia,

Gangrene, Tachycardia, BP ต ่า

Pitfall

 ไม่มีนโยบายก ากับการสั่งยา

 ไม่มีแนวทางหรือเครื่องมือช่วยในการค านวณยา เช่น ตารางการผสมยาและค านวณ

อัตราเร็วในการให้ยา

 ไม่มีแนวทางในการติดตามอาการผู้ป่วยหลังได้รับยา

มาตรฐาน HA

การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการ

สุขภาพ ฉบับที่ 4 ตอนที่ II หมวดที่ 6 ระบบการจัดการด้านยา (MMS) ข้อ 6.1 ก. การก ากับ

ดูแลการจัดการด้านยา (4)