III-1การเข้าถึงและเข้ารับบริการ

III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ ACN

เข้าถึงง่าย กระบวนการรับตรงกับปัญหาสุขภาพและความต้องการผู้ป่วย

ทันเวลา การประสานงานที่ดี มีระบบและสิ่งแวดล้อมเหมาะสม

71.การเข้าถึงบริการที่จำเป็นและบริการเร่งด่วน

72.กระบวนการรับผู้ป่วย

73.การให้ข้อมูลและ informed consent

-----------------------------------------------------------------------------------------------------

* หมายเหตุ : การดูมาตรฐาน มี 3 ระดับ

-BR : basic requirement

-OR : overall requirement

-MR : Multiple requirement

-----------------------------------------------------------------------------------------------------

III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ ACN : Access & Entry *---BR

มาตรฐาน ACN

ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ง่าย, *---OR

กระบวนการรับผู้ป่วยเหมาะกับปัญหาสุขภาพ / ความต้องการของผู้ป่วย ทันเวลา มีการประสานงานที่ดี

ภายใต้ระบบและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล.

การเข้าถึง มี 1 ข้อ

(1) [การเข้าถึง, การลดอุปสรรค] [ตอบสนองรวดเร็ว] (เป็นกล่องตามเล่มเหลือง) *---MR

-ชุมชนสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ที่เหมาะสมกับความต้องการของตน.

-ทีมผู้ให้บริการพยายามลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ ในด้านกายภาพ ภาษา วัฒนธรรม จิตวิญญาณ และอุปสรรคอื่นๆ.

-ทีมผู้ให้บริการตอบสนองต่อผู้รับบริการอย่างรวดเร็ว.

-ระยะเวลารอคอยเพื่อเข้ารับบริการเป็นที่ยอมรับของชุมชนที่ใช้บริการ.

การเข้ารับ มี 3 ข้อ [ เป้าหมาย : ผู้ป่วยเข้ารับบริการทันเวลา เหมาะสม มีประสิทธิภาพ]

(2) [ประเมินผู้ป่วยเบื้องต้น] [ดูแลฉุกเฉินเร่งด่วน]

-ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลฉุกเฉินหรือเร่งด่วนได้รับการประเมินและดูแลรักษาเป็นอันดับแรก.

(การ screening/triage)

(3) [ประเมินความสามารถขององค์กร] [ส่งต่อ(ช่วยเหลือเบื้องต้น.อธิบายเหตุผล.หาที่ส่งต่อ)]

-มีการประเมินความสามารถในการรับผู้ป่วยไว้ดูแลตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้.

-ถ้าไม่สามารถให้บริการแก่ผู้ป่วยได้ทีมผู้ให้บริการจะให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อธิบายเหตุผลที่ไม่สามารถรับไว้ และช่วยเหลือผู้ป่วยในการหาสถานบริการสุขภาพที่เหมาะสมกว่า.

(4) [รับไว้ใน ICU/special(เกณฑ์เข้าหน่วยบริการวิกฤติ)] [รับไว้ในหน่วยบริการทั่วไป]

-การรับย้ายหรือรับเข้าหน่วยบริการวิกฤติหรือหน่วยบริการพิเศษเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้.

การให้ข้อมูล และ inform consent มี 1 ข้อ [เชื่อม ตอนIII-5 การให้ข้อมูลและการเสริมพลัง]

(5) [ให้ข้อมูล(สภาพความเจ็บป่วย.การดูแลที่จะได้รับ.ผลลัพธ์.ค่าใช้จ่าย)],[ได้รับการยินยอม]

-ในการรับผู้ป่วยไว้ดูแล, มีการให้ข้อมูลที่เหมาะสมเกี่ยวกับสภาพการเจ็บป่วย การดูแลที่จะได้รับ ผลลัพธ์และค่าใช้จ่ายที่คาดว่า่ จะเกิดขึ้น แก่ผู้ป่วย / ครอบครัว อย่างชัดเจนและเข้า้ใจง่าย.

-มีกระบวนการขอความยินยอมจากผู้ป่วย / ครอบครัวก่อนที่จะให้บริการหรือกระทำหัตถการสำคัญ และสร้างความมั่นใจว่าผู้ป่วย / ครอบครัวได้รับข้อมูลที่จำเป็นอย่างเพียงพอด้วยความเข้าใจ มีเวลาที่จะพิจารณาก่อนตัดสินใจ และมีการบันทึกที่เหมาะสม.

การให้คะแนน Scoring

Scoring

1.มีการวิเคราะห์อุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการที่จำเป็นและเร่งด่วน

2.มีการปรับปรุงเพื่อลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงการบริการที่สำคัญ

3.มีการใช้ข้อมูลปัญหาสุขภาพชุมชนที่รับผิดชอบเพื่อการจัดหรือขยายการบริการเพื่อรองรับความต้องการของประชากรที่สำคัญ

4.โดดเด่น การใช้ IT การเข้าถึงบริการ/การเข้าถึงของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส/ ผู้ป่วยฉุกเฉิน /การใช้ lean เพื่อลดขั้นตอน

5.มีการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบเพื่อให้กลุ่มชุมชนสามารถเข้าถึงการบริการที่จำเป็นต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับ health need

71.การเข้าถึงบริการที่จำเป็นและบริการเร่งด่วน

การเข้าถึง

Criteria

(1) [การเข้าถึง, การลดอุปสรรค] [ตอบสนองรวดเร็ว] (เป็นกล่องตามเล่มเหลือง)

-ชุมชนสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ที่เหมาะสมกับความต้องการของตน.

-ทีมผู้ให้บริการพยายามลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ ในด้านกายภาพ ภาษา วัฒนธรรม จิตวิญญาณ และอุปสรรคอื่นๆ.

-ทีมผู้ให้บริการตอบสนองต่อผู้รับบริการอย่างรวดเร็ว.

-ระยะเวลารอคอยเพื่อเข้ารับบริการเป็นที่ยอมรับของชุมชนที่ใช้บริการ.

ตัวอย่าง จาก SPA. SPA in action, การปรังปรุง

มีการวิเคราะห์ ดำเนินการ และ ปรับปรุง

การให้บริการตามความต้องการที่สำคัญ-จำเป็น

-มีการจัดทำกลุ่มบริการเป้าหมาย

-จัดตามกลุ่มโรคจำเป็น

-กลุ่มผู้รับบริการ

กลุ่มผู้ป่วย

-ประกันสังคม โรงงาน : อุบัติเหตุจากการทำงาน บาดเจ็บที่ืมือ

-อุบัติเหตุจราจร : อุบัติเหตุทางจราจร บาดเจ็บที่ศีรษะ

-กลุ่มทั่วไป และ ต่างด้าว : มีล่ามเพื่อการสื่อสาร โรคพบบ่อยสำคัญ ไส้ติ่งอักเสบ

-กลุ่มผู้สูงอายุ : ผ่าตัดต้อกระจก เปลี่ยนข้อเข่า

ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มโอกาส

-กลุ่มโรคเรื้อรัง : เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง หัวใจขาดเลือด

เข้าถึงรวดเร็ว การตรวจที่ครบถ้วน เข้าถึงคลินิกเฉพาะด้าน

-กลุ่มโดดเดี่ยว ไม่ยอมมารับบริการ ต้องจัดบริการเชิงรุก ร่วมมือชุมชน

เช่น HIVระยะสุดท้าย จิตเวชถูกขัง พิการทุพพภาพ

-กลุ่มที่มีปัญหาในการเดินทาง รถติด ทางไม่สะดวก ห่างไกล พิการ

ช่องทางการเข้าถึง

-เบอร์สายด่วน

-ระบบให้คำแนะนำผ่านสารสนเทศ

(*ใช้การให้ข้อมูลคนไข้ได้โดยไม่ต้องมารพ. โรคอะไรบ้าง)

-วางระบบร่วมกับชุมชน การสร้างความร่วมมือ

เครือข่าย

-ระบบร.พ.เครือข่าย คลินิกเครือข่าย

-ร.พ. เราทำงานเป็นเครือข่าย ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการบริการของร.พ.เรา ได้หลายช่องทาง ทั้ง BPK 2,3,9 จะทำงานประสานกันได้อย่างรวดเร็ว และ ผู้ป่วยโรคซับซ้อนสามารถส่งต่อกันเองในเครือได้

มีการประสานงานกับโรงงาน

- ในการให้คำแนะนำเบื้องต้น การดูแลเบื้องต้น ส่งต่อ และ การเข้ารับบริการ เช่น การบาดเจ็บที่มือ เป็นต้น

บริการที่สำคัญและจำเป็น

ด้านการผ่าตัด เข้าถึงการผ่าตัด

-เปิดให้บริการผ่าตัดที่จำเป็น

-เข้าถึงการได้เร็ว

-คิวผ่าตัดได้เร็ว

-การเข้าถึงระหว่างแผนก

ระบบการsetได้ไวในระหว่างแผนก

-เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการผ่าตัด

ขยายบริการจัดให้มีการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ต้อกระจกในกลุ่มผู้สูงอายุ

-ในชุมชนที่กำหนด โดยมีทีมประสานงาน-ทีมส่งเสริม-ทีมที่ดูแลผู้ป่วยในร.พ.นั้นๆ

ด้านการแพทย์ เข้าถึงแพทย์

ลดขั้นตอนพบแพทย์เฉพาะทาง

การเข้าถึงหลากหลายสาขา

การเข้าถึงในยามวิกาล

ระบบการเข้าถึงแพทย์ที่ปรึกษา

-จัดแพทย์เวร และ แพทย์เฉพาะทาง ทั้งแพทย์ประจำ

แพทย์เวร และ แพทย์ที่ปรึกษา

เพื่อให้สอดคล้องกับประชากรที่มารับบริการ

ด้านการเข้าถึงเร่งด่วน

บริการเร่งด่วน ปรับปรุง

-จัดให้มีบริการ EMS ที่มีประสิทธิภาพ ในระดับ EMS advance ครอบคลุมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นสูง มีรถหัวใจฉุกเฉิน -จัดทีมบุคลากรนำโดย พาราเมดดิก(ป.ตรีเวชปฏิบัติฉุกเฉิน) EMTB,EMTI

-การฝึก BLS แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ

-การฝึก ACLS โดยได้รับความร่วมมือกับ BPK9 ส่งอายุรแพทย์ฉุกเฉินและอายุรแพทย์โรคหัวใจ

-จัดระบบดูแลรักษาฉุกเฉินร่วมกับสปสช.เป็นศูนย์สำรองเตียงและให้บริการแกประชาชนทั่วไป

-จัดบริการสายด่วน 1745 สามารถติดต่อได้ทันที

-เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการผู้ป่วยที่บ้านเมื่อเกิดภาวะวิกฤตให้ขอความช่วยเหลือเพื่อลดอัตราการเสียชีวิต

-ประสานกับแหล่งทรพยากรต่างๆ การสื่อสาร การเดินทาง การขนย้าย

-ประสานกับเครือข่ายดูแลผู้ป่วย

-ระบบการห้องฉุกเฉินเพื่อรองรับอุบัติเหตุระดับต่างๆ การซ้อม code mass

ปรับปรุงการรองรับ case อุบัติเหตุ ย้ายตึกหน้าและเปิดใช้งานพร้อมเครื่อง CT scan

Fast tract จัดทำระบบการให้การดูแลรักษาตามกลุ่มประชากรที่สำคัญ Fast tract stroke, MI ประสานร่วมกับรพ.ในเครือ สามารถเข้ารับบริการได้โดยตรง มีการจัดช่องทาง fast tract ที่สำคัญ

อุปสรรคต่อการเข้าถึง

ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ กลุ่มต่างด้าว

-โปรแกรมราคาถูก การมีระบบผ่าตัดฟรี

-จัดบริการ ตรวจโรคออกใบรับรองแพทย์

-พร้อมทั้งตรวจหาโรคและแนะนำการรักษาต่อ

-มีการตรวจสอบสิทธิ ส่งตัวตามสิทธิ

การช่วยการตรวจสอบ เช่น ระบบประกัน, บัตรATM, สปสช เป็นต้น

-ส่งต่อผู้ป่วย TB ที่ไม่มีสิทธิการรักษาหรือห่างไกลเข้าศูนย์ reference

-ข้อเข่า ต้อกระจก สำหรับผู้สูงอายุ การเปิดnurseryผู้สูงอายุ

ด้านกายภาพ

-ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จาก1-2-1 ห้องฉุกเฉิน ย้ายมาตึกหน้า

ปรับเพิ่มพื้นที่ แยกห้องตรวจOPDเฉพาะsur-ort

-ชยายพื้นที่รอตรวจ

ด้านภาษา

-ด้านการสื่อสาร จัดหาล่ามพม่าประจำ

-อุปกรณ์สือสาร เอกสาร

ด้านวัฒนธรรม

-ต้องเช้าใจ ข้อบ่งชี้

ด้านอื่นๆ

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 199 บาท

-เพื่อค้นหาความเสี่ยงและโรคของผู้ป่วย เพื่อการเข้าถึงได้ดีขึ้นส่งคนไปหา จัดทีมส่งเสริมสุขภาพ ค้นหาและการให้คำแนะนำในกลุ่มโรค ลงในชุมชนเป้าหมาย

ขั้นตอนการรับบริการ

-ระยะเวลารอคอยก่อนตรวจจากแพทย์ ที่OPD ที่แผนกต่างๆ กำหนดเป้าและปรับปรุง การเพิ่มจุดตวจ การกระจาย

-ระบบการนัด ระยะรอในคิวสั้นลง การส่งต่อ หรือเพิ่มบริการ

-Lean โดยลดขั้นตอนต่างๆให้ใช้บริการได้โดยง่ายและเร็ว

พบแพทย์เฉพาะทางได้เร็ว

ผลแลปออกเร็ว

-ระยะเวลารอคอย ER

กรณีผู้ป่วยเร่งด่วน การตรวจขั้นต้น การพบแพทย์ การตัดสินการสั่งการรักษา

-การเข้าถึงของระบบต่างๆในรพ. เช่น เข้าห้องผ่าตัดได้เร็ว setORจากERหรือOPDได้เลย

มีการนำ IT

เพื่อลดขั้นตอนการรอคอยตลอดทั้งกระบวนการ เช่น การส่งผลตรวจทางห้องปฏิบัติผ่านระบบ I-med, ระบบเอ็กซเรย์ infinitt lite, การรับจ่ายยา เป็นต้น ทำให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่เร็วขึ้น

Lean

ลดขั้นตอนที่ไม่เกิดประโยชน์

การจัดคิวที่รวดเร็วขึ้น แบ่งตามระยะเวลา