2.1 ภาพรวมของการเปลี่ยนแปลง

2.1 ภาพรวมของกำรเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน HA ฉบับที่ 4

การเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน HA ฉบับที่ 4 มีลักษณะดังต่อไปนี้

(1) การเพิ่มเติมหัวข้อสำคัญ

(2) การเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญ

(3) การใช้คำที่มีความหมายกว้างขึ้น

(4) การสลับที่หรือควบรวมข้อย่อยของมาตรฐาน

(5) การเปลี่ยนแปลง/เพิ่มเติมเนื้อความในข้อย่อยที่มีอยู่เดิม

(6) การระบุ Patientand Personnel Safety Goals ให้ชัดเจนมากขึ้น

(7) การเชื่อมโยงเพื่อความสมบูรณ์

มาตรฐานส่วนเพิ่มเติมที่โรงพยาบาลควรให้ความสำคัญได้แก่ หัวข้อที่

เป็นตัวหนาและมีดาว

มาตรฐานที่มีการเพิ่มเติมในหัวข้อสำคัญ ได้แก่

  • *I-1.2 ก.(3) การวางระบบกำกับดูแลทางคลินิก (clinicalgovernance)

  • *I-1.2 ข.(3) ประเด็นทางจริยธรรมที่ยากลำบากในการตัดสินใจ

  • I-2.1 ก.(2) การกำหนดโอกาสเชิงกลยุทธ์

  • I-3.3 ข.(7) การคุ้มครองสิทธิของผู้ป่วยที่เข้าร่วมงานวิจัยทางคลินิก

  • *I-4.2 ข.(3) การส่งข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์

  • I-6.1 ค.(1) การจัดการห่วงโซ่อุปทาน

  • I-6.1 ง.(1) การจัดการนวัตกรรม

  • *I-6.1 จ. การจัดการด้านการเรียนการสอนทางคลินิก

  • *II-6.1 ก.(5) แผนงานใช้ยาสมเหตุผล

  • II-6.1 ข.(4) ระบบคอมพิวเตอร์สนับสนุนการจัดการระบบยา

  • III-4.3 ช.(1) การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

  • III-6 (1) การระบุกลุ่มผู้ป่วยสำคัญที่ต้องใช้ขั้นตอนการจำหน่ายและ

    • การส่งต่อผู้ป่วยเป็นกรณีพิเศษ

  • III-6 (2) การดูแลขณะส่งต่อ

  • III-6 (3) ยานพาหนะที่ใช้ในการส่งต่อผู้ป่วย

มาตรฐานที่มีการเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญ ได้แก่

  • *II-1.2 การบริหารความเสี่ยง

มาตรฐานที่มีการระบุ Patient Safety Goals ไว้อย่างชัดเจน ได้แก่

  • *II-6.1 ก.(5) แผนงานใช้ยาสมเหตุผล

  • *II-6.2 ก.(2) medication reconciliation

  • *III-1 (8) การบ่งชี้ผู้ป่วยอย่างถูกต้อง

  • *III-2 ค.(4) การลดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยโรค

  • *III-4.3 ข.(4) การป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ผิดหัตถการ

  • *III-4.3 จ.(3) การดูแลผู้ป่วยที่มีความปวด

  • *III-6 (2) การดูแลขณะส่งต่อ

มาตรฐานที่มีการระบุ Personnel Safety Goals ไว้อย่างชัดเจน ได้แก่

  • *I-4.2 ข.(3) การส่งข้อมูลผู้ป่วยโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์

  • *I-5.1 ค. สุขภาพและความปลอดภัยของกำลังคน

มาตรฐานที่มีการใช้คำที่มีความหมายกว้างขึ้น ได้แก่

    • I-5 กำลังคน หมายถึงบุคลากรประจำ ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ อาสาสมัคร

มาตรฐานที่มีการสลับที่ ควบรวม ได้แก่

  • ย้ายการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์จาก

    • I-6 มารวมกับ I-2 เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับระบบงาน และสมรรถนะหลักขององค์กร

  • เปลี่ยน คุณภาพของข้อมูล สารสนเทศและความรู้

  • ใน I-4.2 ค. เป็นการจัดการสารสนเทศแล้วย้ายมาเป็นI-4.2 ข. สลับกับการจัดการความรู้

  • สลับ I-5.1 กับ I-5.2 เป็น

  • I-5.1 สภาพแวดล้อมของกำลังคน,

    • I-5.2ความผูกพันของกำลังคน

  • I-5.1 ค.(1) รวมข้อกำหนดเกี่ยวกับโปรแกรมสุขภาพและความปลอดภัยของกำลังคนไว้ด้วยกัน

    • ย้ายการจัดการและปรับปรุงกระบวนการทำงาน จาก I-6.2 มา I-6.1 ข.

  • ย้ายความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน จาก I-6.1 ค. มาอยู่ I-6.2 ข.

  • ย้าย II-4.3 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล

    • มาอยู่รวมกับ II-4.1

  • แยก II-7 เป็น

  • II-7.1 บริการรังสีวิทยา,

    • II-7.2 บริการป้องปฏิบัติการทางการแพทย์,

    • II-7.3 บริการพยาธิวิทยากายวิภาค,

    • II-7.4 ธนาคารเลือด,

    • II-7.5 บริการตรวจวินิจฉัยโรคอื่นๆ

  • ย้ายผลลัพธ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ

    • ไปรวมกับผลลัพธ์ด้านการ ดูแลสุขภาพ IV-1 (2)

  • ย้ายสลับตำแหน่งของผลลัพธ์ดังนี้

  • IV-3 ผลด้านกำลังคน,

    • IV-4 ผลด้านการนำ,

    • IV-5 ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการ

    • IV-6 ผลด้านการเงิน

มาตรฐานที่มีการเปลี่ยนแปลง/เพิ่มเติมเนื้อความในข้อย่อยที่มีอยู่เดิม

  • I-1.2 ก.(1) ระบบกำกับดูแลองค์กรกับความรับผิดชอบต่อแผนกลยุทธ์

    • I-1.2 ค.(1) การรับผิดชอบต่อความผาสุกของสังคม (สิ่งแวดล้อมสังคม และเศรษฐกิจ)

  • I-2.1 ก.(1) การพิจารณาความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกโฉม และความคล่องตัวขององค์กรในการวางแผนกลยุทธ์

    • I-2.1 ข.(2)การพิจารณาโอกาสเชิงกลยุทธ์ในการจัดทำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

  • I-3.3 ข.(4) การจัดการสวัสดิภาพและความปลอดภัยแก่ผู้ป่วย

  • I-6.1 ข.(2) กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ

  • I-6.2 ข.(1) สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่ปลอดภัย

    • I-6.2 ข.(2) การเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน เพิ่มการพึ่งพากำลังคน ผู้ส่งมอบ และพันธมิตร รวมทั้งความมั่นคงปลอดภัยและพร้อมใช้งานต่อเนื่องของระบบสารสนเทศ

  • II-1.2 ก.

  • (1) กรอบการบริหารงานคุณภาพ

    • (6) การวัดผลการดำเนินการ

    • (7) การประเมินและชี้นำการพัฒนาคุณภาพ

    • (8) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ

    • (9) การนำแผนไปปฏิบัติ

    • (10) การเผยแพร่ข้อมูล

  • II-3.2 ข.(2) ระบบสำรองสำหรับแก๊สที่ใช้ในทางการแพทย์

  • II-4.1 ก.(4) นโยบายและแนวทางในการป้องกันการติดเชื้อ

    • II-4.2 ก.(1) การ reprocessกล้องส่องอวัยวะต่างๆ, การจัดการกับวัสดุที่หมดอายุ และการนำอุปกรณ์การแพทย์ที่ออกแบบเพื่อใช้ครั้งเดียวกลับมาใช้ใหม่

  • II-4.2 ก.(2) การประเมินและลดความเสี่ยงจากงานก่อสร้าง

    • II-4.2 ก.(3) พื้นที่ที่ต้องใส่ใจในการป้องกันและควบคุม เพิ่มเติมหอผู้ป่วยอายุรกรรม ศัลยกรรม กุมารเวชกรรม (โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความแออัด) หน่วยบริการฉุกเฉิน หน่วยตรวจผู้ป่วยนอก (สำหรับผู้ป่วยความต้านทานตำ ผู้ป่วยวัณโรคที่ยังไม่ได้รับการรักษาเพียงพอ และผู้ป่วยเด็ก)

  • II-5.1 ก.(3) ข้อกำหนดเกี่ยวกับการบันทึกเวชระเบียน เพิ่มเติม

    • ลายมือที่อ่านออก การแจ้งเตือนข้อมูลสำคัญ บันทึกความก้าวหน้าสิ่งที่สังเกตพบ รายงานการให้คำปรึกษา ผลการตรวจวินิจฉัยเหตุการณ์สำคัญ เหตุการณ์เกือบพลาด หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น.

    • II-5.1 ข.(1) เพิ่มเติม การจัดเก็บเวชระเบียนอย่างเหมาะสม รักษาความลับได้ การเก็บรักษาและทำลายตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายและระเบียบ

    • II-6.2 ข.(2) การจัดเตรียมยา เพิ่มการหลีกเลี่ยงการสัมผัสยาโดยตรง การใช้ laminar air flw hood

    • II-6.2 ข.(4) การส่งมอบยาให้หน่วยดูแลผู้ป่วย เพิ่มการปกป้องสุขภาพและความปลอดภัยของบุคลากรที่สัมผัสยาเคมีบำบัด และการรับคืนยา

    • II-6.2 ค.(1) การให้ยาแก่ผู้ป่วย เพิ่ม การตรวจสอบซ้ำโดยอิสระก่อนให้ยาที่ต้องใช้ความระมัดระวังสูง ณ จุดให้บริการ การบันทึกเวลาที่ให้ยาจริงสำหรับกรณีการให้ยาล่าช้าหรือลืมให้

  • II-6.2 ค.(4) การให้ผู้ป่วยบริหารยาที่นำติดตัวมาได้เอง

  • III-1 (2) การประสานงานเพื่อการส่งต่อ กับหน่วยงานผู้ส่ง

  • III-1 (3) การคัดแยก (triage)

  • III-1 (7) ข้อบ่งชี้ในการให้ความยินยอมจากผู้ป่วย/ครอบครัว

    • III-2 ก.(2) การประเมินแรกรับของผู้ป่วย เพิ่ม การรับรู้ความต้องการของตนโดยตัวผู้ป่วยเอง ความชอบส่วนบุคคลของผู้ป่วย

  • III-4.3 ค.(1) การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากบริการด้านอาหารและโภชนาการ และการป้องกัน

  • III-4.3 จ.(1) การคัดกรองและประเมินความปวด

    • III-4.3 จ.(2) การให้ข้อมูลผู้ป่วย ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการจัดการความปวด

  • III-4.3 จ.(3) การดูแลผู้ป่วยที่มีความปวด และการเฝ้าระวัง

    • III-4.3 ฉ.(3) บริการฟื้นฟูสภาพเป็นไปตามมาตรฐาน กฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง.

    • IV-4 (2) ผลลัพธ์เรื่องการสื่อสารและการสร้างความผูกพันกับกำลังคนและลูกค้า

    • IV-4 (6) ผลลัพธ์สำคัญด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

  • IV-5 (1) ตัวชี้วัดของกระบวนการทำงานสำคัญ (ตามมาตรฐาน

    • ตอนที่ I และ II) และกระบวนการสนับสนุนสำคัญ ครอบคลุมตัววัดด้านผลิตภาพ รอบเวลา ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และมิติคุณภาพที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

  • IV-5 (2) ประสิทธิผลระบบความปลอดภัยขององค์กร

    • การเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน และผลการดำเนินการด้านห่วงโซ่อุปทาน

มาตรฐานที่มีการเชื่อมโยงเพื่อความสมบูรณ์

(ไม่ต้องประเมินให้คะแนนในหมวดต่อไปนี้)

  • II-1.1 ก.(6) การวัดผลการดำเนินการ

  • II-1.2 ข. ข้อกำหนดเฉพาะประเด็นของระบบบริหารความเสี่ยง