4P 2.1 Physical Hazard

P 2.1: Physical Hazard (สิ่ งคุกคามทางกายภาพ)

Definition

สิ่งคุกคามทางกายภาพในสถานที่ท างาน ได้แก่ เสียงดัง แสงสว่าง ความร้อน

Goal

ควบคุมสิ่งคุกคามด้านกายภาพให้อยู่ในระดับความเสี่ยงต ่า ถึงปานกลาง และให้เป็นไป

ตามมาตรฐานความปลอดภัยในการท างานหรือตามกฎกระทรวง ก าหนดมาตรฐานในการ

บริหาร จัดการ และด าเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน

การท างานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง เสียง พ.ศ. 2549 และ 2559

Why เมื่อบุคคลได้สัมผัสสิ่งแวดล้อมในการท างาน ได้แก่ เสียงดัง (noise) แสงสว่าง

(light) ความร้อน (heat) อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งแบบเฉียบพลัน หรือแบบเรื้อรัง

ได้ สถานทีท างานที่อาจพบสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่

 ความร้อน (heat) ได้แก่ ห้องติดตั้งหม้อไอน ้า งานโภชนาการ แผนกซัก-รีด เป็นต้น ท า

ให้บุคลากรอาจอาการของการสูญเสียน ้าหรือเกลือแร่ หรืออาจเกิดผื่นความร้อนได้

 เสียงดัง (noise) ได้แก่ แผนกแผนกช่าง ศูนย์เครื่องมือแพทย์ ห้องผ่าตัด ห้องเฝือก แผนก

ซัก-รีด หน่วยจ่ายกลาง ทันตกรรม กายอุปกรณ์ อาจท าให้เกิดการสูยเสียการได้ยิน

 แสงสว่าง (light) ได้แก่ สถานที่ทำงานทุกแห่ง ซึ่งอาจเกิดจากการจัดระบบแสงสว่าง

ไม่เหมาะสมกับสถานที่ การจัดผังการท างานไม่เหมาะสมกับแหล่งหรือทิศทางของ

แสงสว่าง ขาดการตรวจสอบและบ ารุงรักษาแหล่งก าเนิดแสงสว่างที่ให้แก่บริเวณ

ท างาน การทาสีของผนัง เพดานที่มีผลต่อการสะท้อนแสงสว่างต ่า

Process

1. ให้ตัวแทนบุคลากร เช่น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน ระดับหน่วยงาน

ร่วมกับ หน่วยงานด้านการบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประเมิน

ความเสี่ยงต่อ ความร้อน แสงสว่าง เสียง ตามมาตรฐานความปลอดภัยในการท างาน

กับความร้อน แสงสว่าง เสียง หรือตามกฎกระทรวงแรงงาน ก าหนดมาตรฐานในการ

บริหาร จัดการ และด าเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน

การท างานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง เสียง พ.ศ. 2549 และ 2559

2. ดา เนิ นการปรบ ั ปรง ุ แก้ไข จุดหรือสถานที่ที่มีผลการประเมินการสัมผัสสิ่งคุกคาม

ต่อสุขภาพ เสียงที่มีค่าเกินขีดจ ากัดความปลอดภัยในการท างานที่สมาคมวิชาชีพด้าน

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท างานหรือตามกฎหมาย หรือหากเป็นกรณีแสง

สว่างและความร้อนให้ด าเนินการตามมาตรฐานความปลอดภัยในการท างานตาม

กฎกระทรวงฯ ที่กล่าวถึงข้างต้นในข้อ 1.

3. ปรับปรุง ควบคุม ลดความเสี่ยง จากการสัมผัสเสียงดัง แสงสว่าง และความร้อน

โดยการควบคุมที่แหล่ง (resource) ทางผ่าน (pathway) หรือที่บุคคล (person)

4. สวมใส่อป ุ กรณ์ค้ม ุ ครองความปลอดภย ั ส่วนบค ุ คลที่ได้มาตรฐานและเลือกใช้

อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามประเภทงานหรือสถานที่ที่มีความเสี่ยงต่อสิ่งคุกคาม

ด้านกายภาพ และมีการติดตามการใช้อุปกรณ์นั้นๆ

5. ประเมินความเข้มของเสียง แสงสว่าง และระดบ ั ความร้อน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

6. บุคลากรควรได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพ เช่น การตรวจการได้ยิน การตรวจสายตา

ทางอาชีวเวชศาสตร์ หากพบว่าบุคลากรมีการสัมผัสสิ่งคุกคามทางกายภาพในเกณฑ์ที่

จ าเป็นต้องได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพ (การเฝ้าระวังทางเวชกรรม)

7. จด ั ทา โครงการอนุรก ั ษ์การได้ยิ น ส าหรับบุคลากรที่ต้องท างานสัมผัสเสียงดังตาม

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดท าโครงการ

อนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553

Training

1. อบรมความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท างานระดับพื้นฐาน แก่

ผู้บริหารและบุคลากรทุกคน

2. อบรมความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยเฉพาะเรื่อง ส าหรับบุคลากรที่ท างานในที่มีความเสี่ยง

ต่อสิ่งคุกคามด้านกายภาพเฉพาะเรื่อง

3. อบรมการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้สามารถเลือกใช้ได้ถูกต้องและ

มีการสวม PPE อย่างถูกต้องและเหมาะสม

Monitoring

1. ประเมินการสัมผัสสิ่งคุกคามทางด้านความร้อน แสงสว่าง เสียง ตามที่กฎหมายฯ

ก าหนด ซึ่งต้องด าเนินการทุกปี และอาจประเมินความเสี่ยงจากการท างานและ

จัดล าดับความเสี่ยง

2. ถ้ามีการเปลี่ยนกระบวนการท างานต้องประเมินการสัมผัสและการประเมินความเสี่ยงใหม่

3. หัวหน้าหน่วยงานได้รับการอบรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับหัวหน้า

งาน และเป็นผู้ก ากับติดตาม และประเมินการสัมผัสและความเสี่ยงต่อสิ่งคุกคามนั้นๆ

เพื่อจัดการแก้ไข ปรับปรุงลดความเสี่ยงด้วยตนเองหรือประสานไปยังหน่วยงานทีได้

รบมอบหมายให้บริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท างาน

(ดูแนวทางการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท างานเพิ่มเติม)

Pitfall

ด้านบุคคล

1. บุคลากรขาดความตระหนัก ขาดความรู้เรื่องสิ่งคุกคามต่อสุขภาพในที่

ท างาน

2. ประเมินความเสี่ยงต่อสิ่งคุกคามด้านความร้อน แสงสว่าง เสียง มีการใช้

เครื่องมือตรวจวัดจ าเพาะ ซึ่งต้องใช้ผู้ประเมินที่มีความรู้ ความช านาญและ

มีประสบการณ์ในการตรวจวัด

ด้านระบบ

1. การตรวจวัดสิ่งคุกคาม แสง เสียง ความร้อน ต้องด าเนินการโดยผู้ที่มี

ใบรับรองที่สามารถตรวจประเมินได้ตามมาตรฐานและตามหลักวิชาการผู้

และรับรองผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท างานด้านความร้อน แสง

เสียง ต้องได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับรองรายงานตามกฎหมาย

2. ขาดหน่วยงานและผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและ

ความปลอดภัยส าหรับบุคลากรในสถานพยาบาล (ดูกฎกระทรวงก าหนด

มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย

สภาพแวดล้อมในการท างาน พศ. 2549)

ด้านเทคนิค

1. เครื่องมือด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมเพื่อใช้ในการประเมินการสัมผัสสิ่ง

คุกคามทางกายภาพ เช่น เครื่องวัดความเข้มของแสง เครื่องมือวัดระดับ

เสียงสะสม (noise dosimeter) หรือเครื่องมือวัดความร้อน (wet bulb

globe temperature) ไม่ได้รับการสอบเทียบความเที่ยงตรง

2. บริษัทที่รับเหมามาประเมินการสัมผัส ได้ออกแบบการตรวดวัดการสัมผัส

สิ่งคุกคามทางกายภาพไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการหรือมาตรฐานการ

ตรวจวัดฯ

มาตรฐาน HA

การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการ

สุขภาพ ฉบับที่ 4 ตอนที่ I หมวดที่ 5 ข้อ 5.1 สภาพแวดล้อมของก าลังคน (WKF.1) ค.

สุขภาพและความปลอดภัยของก าลังคน (1), (2), (3) และ (4), ตอนที่ II หมวดที่ 3 ข้อ

3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย (ENV.1)