III-4.3ข. การผ่าตัด

82 การผ่าตัด

ข. การผ่าตัด

มาตรฐาน

(1)

-มีการวางแผนการดูแลสำหรับผู้ป่วยที่จะรับการผ่าตัดแต่ละรายโดยนำข้อมูลจากการประเมินผู้ป่วยมาพิจารณา.

-มีการบันทึกแผนการผ่าตัดและการวินิจฉัยโรคก่อนการผ่าตัดไว้ในเวชระเบียน.

-มีการประเมินความเสี่ยงและประสานกับผู้ประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องเพื่อการดูแลที่ปลอดภัย.

(2)

-มีการอธิบายความจำเป็น ทางเลือกของวิธีการผ่าตัด โอกาสที่จะต้องใช้เลือด ความเสี่ยง

ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ให้แก่ผู้ป่วย ครอบครัว หรือผู้ที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วย.

(3)

-มีการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด เพื่อให้ผู้ป่วยมีความพร้อม

ลดความเสี่ยงจากการผ่าตัดและการติดเชื้อ ทั้งในกรณีผ่าตัดฉุกเฉินและกรณีผ่าตัดที่มีกำหนดนัดล่วงหน้า.

-มีกระบวนการที่เหมาะสมในการป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง.

(4) ผู้ป่วยได้รับการดูแลและผ่าตัดภายใต้สภาวะที่มีความพร้อม มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย

(5) มีการบันทึกรายละเอียดการผ่าตัดในเวชระเบียนผู้ป่วยในเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดการสื่อสารที่ดีระหว่าง

ทีมงานผู้ให้บริการและเกิดความต่อเนื่องในการดูแลรักษา.

(6) มีการติดตามดูแลหลังผ่าตัดเหมาะสมกับสภาวะของผู้ป่วยและลักษณะการผ่าตัด.

HA scoring

ตัวอย่าง

OR nurse record

รูปถ่าย

ระบุตำแหน่ง

-สถานที่ เครื่องมือระบบงานและบุคลากร เอื้อต่อการผ่าตัดที่ จำเป็นตามบริบทของ รพ.

-สถานที่ เครื่องมือระบบงานและบุคลากรเอื้อต่อการผ่าตัดอย่างปลอดภัย, ผู้ป่วยได้รับการเตรียมความพร้อม, มีการประเมินและวางแผนอย่างเหมาะสม

-กระบวนการผ่าตัดเป็นไปอย่างราบรื่นและปลอดภัย, มีการใช้ surgical checklist เพื่อ ความปลอดภัยในการ ผ่าตัดผู้ป่วย

-มีความโดดเด่น เช่น มีระบบติดตามภาวะไม่พึงประสงค์, ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยซับซ้อนหรือรุนแรงได้อย่างปลอดภัย

-มีการประเมินและปรับปรุงบริการผ่าตัดอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้องค์กรเป็นผู้นำใน การให้บริการด้านนี้

การดำเนินการ

การดูแลและการผ่าตัดภายใต้สภาวะที่มีความพร้อม มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย

หมายถึง

การจัดแบ่งพื้นที่ การกำหนดการไหลเวียน และการป้องกันการปนเปื้อนในห้องผ่าตัด,

การทำความสะอาดบริเวณห้องผ่าตัดและเตียงผ่าตัด,

การทำความสะอาดเครื่องมือ / อุปกรณ์ผ่าตัดและทำให้ปราศจากเชื้อ,

การเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และเจ้าหน้าที่ช่วยผ่าตัด สำหรับผู้ป่วยแต่ละราย,

การดูแลระหว่างรอผ่าตัด,

การตรวจนับเครื่องมือและอุปกรณ์,

การจัดการกับชิ้นเนื้อที่ออกมาจากผู้ป่วย,

การเตรียมความพร้อมและการปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะวิกฤติกับผู้ป่วย

-พัฒนากระบวนการรับนัดผ่าตัด การรายงานแพทย์และทีมผ่าตัด กาารจัดเตรียมและสำรองเครื่องมือ

อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำการผ่าตัดแต่ละราย

-จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยทีทำการผ่าตัดที่มีความแตกต่างซับซ้อน ให้ชัดเจนและจัดทำข้อกำหนดปฏิบัติ

การดูแลผู้ป่วยกลุ่มที่จำเป็นเฉพาะในการดูแลหลังการผ่าตัด เช่น Care map ผู้ป่วยผ่าตัดข้อเข่า, ผ่าตัดแปลงเพศ , ผ่าตัดเสริมหน้าอกเป็นต้น

-จัดทำรูปแบบการฝึกผฏิบัติ on the job training โดยใช้ระบบพี่เลี้ยงและมีคู่มือในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ

ประเมินผลมีความน่าเชื่อถือใช้สื่อการสอน เช่น รูปถ่าย ช่วยในการสอนงานใน case ที่ซับซ้อน

-ปี 2558 แผลผ่าตัดสะอาดจะไม่เกิดการติดเชื่อจากกระบวนการทำงานในแผนกห้องผ่าตัด

(ติดตามประเมินผลจากการประเมินผลการติดเชื้ออย่างจริงจังว่าเกิดจากสาเหตุใด)

จะเก็บข้อมมูลแผลผ่าตัดติดเชื้อทั้ง 4 ประเภทเพิ่มเต็มให้ได้อย่างครอบคลุม)

พัฒนาในการติดตามยังเป็นโอกาสเฝ้าระวังใน case ที่มีการสอดใส่อุปกรณ์ในตัวผู้ป่วยร่วมกับคณะกรรม IC โดยมีการติดตามข้อมูลต่อเนื่องจากคลินิกเครื่อข่ายและ การส่งต่อข้อมูลเยี่ยมบ้านร่วมกับทีม

-มีการทำ surgical checklist การทำ sign-in time-out sign-out ขณะที่จะทำการผ่าตัดเพิ่อเตรียมความพร้อมของทีมโดยได้รับความร่วมมืออย่างดี สามารถปฎิบัติได้ 100% และมีการทำ Mark side ได้ครอบคลุมทุกรายในเคสที่มีอวัยวะ 2ข้าง 2รยางค์

การดำเนินการ

- มีการวางแผนการดูแลสำหรับผู้ป่วยที่จะรับการผ่าตัดแต่ละรายโดยนำข้อมูลจากการประเมินผู้ป่วยมาพิจารณา.

ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และการเตรียมพร้อมเพื่อป้องกันความเสี่ยงของผู้ป่วยแต่ละราย

- มีกระบวนการรับนัดผ่าตัด การรายงานแพทย์และทีมผ่าตัด การจัดเตรียมและสำรองเครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องใช้

ในการทำผ่าตัดแต่ละรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

-มีทีมแพทย์ อธิบายความจำเป็น ทางเลือกของวิธีการผ่าตัดโอกาสที่จะต้องใช้เลือด ความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น

ให้แก่ผู้ป่วย ครอบครัว หรือผู้ที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วย

-จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ทำการผ่าตัดที่มีความซับซ้อน ให้ชัดเจนและจัดทำข้อกำหนดปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยกลุ่ม

ที่จำเป็นเฉพาะในการดูแลหลังการผ่าตัด เช่น Care map ผู้ป่วยผ่าตัดข้อเข่า, ผ่าตัดแปลงเพศ , ผ่าตัดเสริมหน้าอกเป็นต้น

- มีการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย โดยมีทีมพยาบาลห้องผ่าตัดและวิสัญญีแพทย์เยี่ยมประเมินก่อนการผ่าตัด

เพื่อให้ผู้ป่วยมีความพร้อมลดความเสี่ยงจากการผ่าตัดและการติดเชื้อ ทั้งในกรณีผ่าตัดฉุกเฉินและกรณีผ่าตัดที่มีกำหนดนัดล่วงหน้า.

-จัดทำรูปแบบการฝึกปฏิบัติ on the job training โดยใช้ระบบพี่เลี้ยงและมีคู่มือในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ

ประเมินผลมีความน่าเชื่อถือใช้สื่อการสอน เช่น รูปถ่าย ช่วยในการสอนงานใน case ที่ซับซ้อน

-พัฒนาระบบในการติดตามเฝ้าระวังใน case ที่มีการสอดใส่อุปกรณ์ในตัวผู้ป่วยร่วมกับคณะกรรม IC โดยมี

การติดตามข้อมูลต่อเนื่องจากคลินิกเครื่อข่ายและ การส่งต่อข้อมูลเยี่ยมบ้านร่วมกับทีม

-มีการนำระบบsurgical checklist การทำ sign-in time-out sign-out ขณะที่จะทำการผ่าตัดเพิ่อเตรียมความพร้อมของทีม

โดยได้รับความร่วมมืออย่างดี สามารถปฎิบัติได้ 100% และมีการทำ Mark side ได้ครอบคลุมทุกรายในเคสที่มีอวัยวะ 2ข้าง 2รยางค์

เช่น ผ่าตัดข้อเข่า และผ่าตัดต้อกระจก

-มีการลงบันทึกเวชระเบียนและการส่งต่อข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยแต่ละรายครบถ้วนสมบูรณ์เพื่อการดูแลต่อเนื่องให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด