Vitamin C

Vitamin C หรือ Ascorbic acid

แหล่งอาหาร

ผักสีเขียวบางชนิด ผลไม้สด ที่มีรสเปรี้ยว

ในน้ำนมแม่มี 4 mg/dl ทารกกินนมแม่จะได้เพียงพอ

ในน้ำนมวัวมีน้อย 1.5 mg/dl แต่นม UHT,นมผงจะไม่มี เนื่องจากโดนความร้อน

ในอาหารแบ่งได้ 2 แบบ

1.ascorbic acid

2.dehydroascorbic acid

วิตามิน C สลายตัวง่าย

เมื่อ โดนความร้อน โลหะหนัก และ ascorbis oxidase enzyme

สัดส่วนปริมาณในการรับประทานวิตามินซี ในแต่ละช่วงอายุ แบ่งได้ดังนี้

-เด็กอายุ 1-3 ปี ควรได้รับวิตามินซี 15 มิลลิกรัมต่อวัน

-เด็กอายุ 4-8 ปี ควรได้รับวิตามินซี 25 มิลลิกรัมต่อวัน

-เด็กอายุ 9-13 ปี ควรได้รับวิตามินซี 45 มิลลิกรัมต่อวัน

-เพศหญิง อายุ 14-18 ปี ควรได้รับวิตามินซี 65 มิลลิกรัมต่อวัน

-เพศหญิง อายุ 19 ปีขึ้นไป ควรได้รับวิตามินซี 75 มิลลิกรัมต่อวัน

-เพศชาย อายุ 14-18 ปี ควรได้รับวิตามินซี 75 มิลลิกรัมต่อวัน

-เพศชาย อายุ 19 ปีขึ้นไป ควรได้รับวิตามินซี 90 มิลลิกรัมต่อวัน

-เพศหญิง ตั้งครรภ์ ควรได้รับวิตามินซี 80-85 มิลลิกรัมต่อวัน

-เพศหญิง ให้นมบุตร ควรได้รับวิตามินซี 115/120 มิลลิกรัมต่อวัน

บทบาทหน้าที่

-การสังเคราะห์คอลลาเจนในเนื้อเยื่อเกี่ยวกัน collagen ซึ่งเป็นองค์ประกอบของ กระดูก กระดูกอ่อน ฟันและผนังเส้นเลือด

-ช่วยรักษาสภาพเหล็ก และ ทองแดง ช่วยการดูดซิมธาตุเหล็ก โดยเฉพาะ non-heme

การ reduce เหล็กจาก ferric เป็น ferrous ในกระเพาะอาหาร ช่วยเพิ่มการดูดซึมของเหล็ก

-เป็นสาร antioxidant

-การสร้าง serotonin, norepinephrine จาก dopaminc,

-เปลี่ยน folic เป้น folinic acid,

-การสร้าง steroid hormone ของ adrenal cortex และ กรดน้ำดี

-ช่วยการทำหน้าที่ serum complement ให้เป็นปกติ

-antioxidant ให้ electron

-ช่วยสังเคราะห์ cartinine, ช่วยในการเก็บรักษาวิตามิน บี หลายชนิด

-มีผลต่อการทำหน้าที่ของ hematopoictic system

-เป็นสารป้องกันมะเร็ง โดยยับยั้งการสร้าง nitrosamines และสารประกอบ N-nitroso

-ฤทธิ์ฆ่าเชื้อของเม็ดเลือดขาว

สาเหตุการขาด

1.

การขาดวิตามินเอ มีผลเกิดความผิดปกติหลายอย่าง

ผู้ป่วยจะมีอาการแสดงของการมีเลือดออกตามไรฟัน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหงือกบวม ฟันหลุดง่าย และแสดงอาการของโรคลักกะปิดลักกะเปิด

ทารกที่ขาด วิตามินซี จะทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต มีเลือดออกตามเหงือก และผิวหนัง มีความบกพร่องในการเจริญเติบโตของกระดูก และอาจเป็นโรคโลหิตจางได้

การใช้ที่ไม่เหมาะสม ของ วิตามินซี ในการรักษาโรคต่อไปนี้ ยังไม่เป็นที่ยอมรับทางการแพทย์ เช่น โรคมะเร็ง เหงือกอักเสบ โรคติดเชื้อ bleeding ฟันผุ โลหิตจาง สิว เป็นหมัน ชะลอความแก่ หลอดเลือดแข็ง และโรคหวัด

ข้อห้ามใช้ของ วิตามินซี วิตามินซี ห้ามใช้กับยาจำพวกกันเลือดแข็ง เช่น wafarin sodium เพราะจะทำให้เลือดออกมากขึ้น และหากรับประทาน วิตามินซี มากเกินไป อาจทำให้เกิดเป็นโรคนิ่วในไต เนื่องจากกรดออกซาลิคที่มีมากขึ้นในปัสสาวะ

ref.

http://dlibrary.childrenhospital.go.th/bitstream/handle/6623548333/600/qsnich-thai-pediatric-journal-16-1-2009-p34.pdf?sequence=5

https://medthai.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94/

http://medinfo.psu.ac.th/pr/MedBoard/readboard.php?id=112

https://assist-impact.net/th/articles/130598-%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5