Kikuchi

Kikuchi disease

หรือ เรียกว่า histiocytic necrotizing lymphadenitis หรือ Kikuchi-Fujimoto disease

ต่อมน้ำเหลืองโตไม่ทราบเหตุ วินิจฉัยจากผลชิ้นเนื้อ

พบได้น้อย ไม่ทราบสาเหตุ หายได้เอง ใช้เวลาหลายสัปดาห์หรือหลายเดือน และอาจเป็นซ้ำได้

ประวัติ 1972 Kikuchi ได้รายงานครั้งแรก, Fujimoto และคณะได้รายงานลักษณะของโรคในปีเดียวกัน

อาการที่พบบ่อยสุดคือ

Cervical lymphadenopathy อาจมีหรือไม่มีอาการอื่น

ปัญหาคือ ทำให้เราเข้าใจผิดว่าอาจเป็น lymphoma หรือ SLE ได้

พยาธิวิทยา

สาเหตุไม่รู้ แต่อาจเกิดจากการติดเชื้อหรือ autoimmune ซึ่งเป็นแล้วหายไปเอง

ทบ.การติดเชื้อ เนื่องจากพบผู้ป่วยบ่อยๆที่มีอาการ URI ซึ่งเชื้อไวรัสหลายตัวก่อให้เกิดอาการดังกล่าวได้

เช่น CMV,EBV,human herpesvirus, VZA, parainfluenza virus, parvovirus B19 ,paromyxovirus แต่จากการตรวจหลายๆวิธีก็ไม่พบเชื้อเหล่านี้ในผู้ป่วย

ทบ.autoimmune มีรายงานว่าโรคนี้พบก่อน ร่วม หรือ หลัง เป็น SLE และการตรวจชิ้นเนื้อเหมือนกับต่อมน้ำเหลืองในผู้ป่วย SLE lymphadenitis จนมีบางท่านกล่าวว่าอาจเป็นรูปแบบหนึ่งหรือ atypical SLE

Epidermiology

พบได้น้อยมาก มักหายได้เองในหลายสัปดาห์จนถึง 6 เดือน มีรายงานการเสียชีวิต 3 รายใน acute phase ของ generalized Kikuchi disease โดยมีรายงานเสียชีวิต 4 ราย จาก CHF , hepatic, pulmonary involvement, lupus like syndrome

เพศหญิงพบมากกว่าชาย 3:1

อายุพบบ่อย 20-30 ปี

อาการและอาการแสดง

มักมีอาการแบบเฉียบพลันโดยมี cervical lymphadenopathy ร่วมกับ ไข้และอาการคล้ายไข้หวัด

ลักษณะต่อมน้ำเหลืองโต : cervical LN(80%), posterior cervical LN(70%), single location(83%)แต่ก็พบเป็น chain ได้ และอาจพบทั้งตัวได้

อาการคล้ายไข้หวัด : ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ปวดข้อปวดกล้ามเนื้อ เหงื่อออกกลางคืน มีผื่น ปวดท้องปวดหน้าอก

การตรวจร่างกาย

พบต่อมน้ำเหลืองโตดังกล่าว อาจปวดเล็กน้อย หรือไม่ปวด ขนาด 2-3 cm อาจมีหลายต่อมติดรวมกันโตกว้างได้ถึง 5-6 cm กดได้ firm ไม่มีหนอง

อาการอื่นนอกต่อมน้ำเหลือง

ผิวหนัง(5-30%)อาจมีผิ่นหลายแบบ(MP rash, mrbiliform rash, urticaria, nodules) หรือ พบ malar rash คล้าย SLE

Hepatosplemegaly พบไม่บ่อย

Neurologic involvement:พบน้อยมาก เช่น aseptic meningitis, acute cerebella ataxia, encephalitis

DDX ในกลุ่มต่อมน้ำเหลืองโต

Catscratch disease,IM, Kawasaki disease, leprosy, sarcoidosis, SLE, toxoplasmosis, TB, tularemia

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

ไม่ชัดเจนไม่มีอะไรบ่งชี้แน่ชัด

CBC: อาจพบ atypical lym, หรือ อาจเป็น mild granulocytopenia ได้

ESR, CRP สูงได้

LDH สูงได้

ANA, RF negative ทำให้แยกจาก SLE ได้

Difinite diagnosis

คือการทำ FNA หรือ LN biopsy

FNA: crescentic histiocytes, plasmacytoid monocytes, and extracellular debris

จะแปลผลเป็น "suggestive of" หรือ "compatible with" Kikuchi disease

แต่ส่วนใหญ่การทำ FNA จะได้ผลไม่ค่อยจำเพาะเจาะจง

LN biopsy: http://emedicine.medscape.com/article/210752-workup#showall

Paracortical necrosis may be patchy or confluent, and the degree of necrosis varies considerably from patient to patient.

Histocytes – Crescent-shaped nuclei (crescentic nuclei)

Other cells – Lymphocytes, plasmacytoid monocytes, macrophages, and immunoblasts (predominantly T cells)

Karyorrhexis – Histiocytes and macrophages containing phagocytized debris from degenerated lymphocytes

ลักษณะทาง histo พบได้ 3 phase

1.Proliferative phase:ลักษณะที่พบด้านบน

2.Necrotizing phase: extensive necrosis ทำลายโครงสร้างปกติของต่อมน้ำเหลือง

3.Xanthomatous phase(foamy cell): เป็น recovery จาก phase 2

http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/7462/1/jun4.pdf

- Histiocytic cell hyperplasia with necrosis : histiocytic necrotizing lymphadenitis

ต้องแยกกับ lymphoma และ SLE

การรักษา

1.NSAIDs ช่วยลดอาการปวด อาการไข้ได้

2.Prednisolone สำหรับรักษา extranodal หรือ generalized Kikuchi disease : aseptic meningitis, cerebellar ataxia, hepatic involvement(LDHสูง), lupus like syndrome

Ref.

http://en.wikipedia.org/wiki/Kikuchi_disease

http://emedicine.medscape.com/article/210752-overview

http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/7462/1/jun4.pdf

http://www.uptodate.com/contents/kikuchi-disease