Anaphylaxis การวินิจฉัย

การวินิจฉัย ภาวะ Anaphylaxis

สำคัญ หากวินิจฉัยไม่ได้ การรักษาจะไม่ถูกต้อง

Criteria for diagnosis

การวินิจฉัย Anaphylaxis

เมื่อมีอาการเข้ากับเกณฑ์การวินิจฉัย ข้อใดข้อหนึ่ง จาก 3 เกณฑ์การวินิจฉัย

DIAGNOSIS

1. อาการที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน (เป็นนาทีหรือหลายชั่วโมง) ของ

-“ระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ” เช่น ลมพิษผนแดง คัน อาการบวมของปาก ลิ้น และเพดานอ่อน

ร่วมกับอาการใน

-ระบบ อย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้

1.1อาการทางระบบทางเดินหายใจ เช่น คัดจมูก น้ํามูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย

wheeze stridor หรือสมรรถภาพปอตสตลง เช่น peak expiratory flow (PEF) ลดลง

หรือระดับออกซิเจนในหลอดเลือดลดลง เป็นต้น

1.2 ความดันโลหิตลดลงหรือการทํางานของระบบต่างๆ ล้มเหลว

เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นลม อุจจาระหรือปสสาวะราต เป็นต้น

2. มีอาการเกิดขึ้นเฉียบพลัน (เป็นนาทีหรือหลายชั่วโมง) ตามระบบ >1 ข้อ

ดังต่อไปนี้

หลังสัมผัสกับ “สารที่น่าจะเป็นสารก่อภูมิแพ้”

2.1 อาการทางระบบผิวหนังหรือเยื่อบุ เช่น สมพิษทั่วตัว ผื่นแดง คัน อาการบวมของ ปากลิ้นและเพดานอ่อน เป็นต้น

2.2 มีอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น คัดจมูก น้ํามูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย

wheezing stridor FEF ลดลง หรือ ระดับออกซิเจนในเลือดจุดลง เป็นต้น

อาการจากคำบอกเล่าว่าแน่นหน้าอกก็ถือว่าใช่

2.3 ความดันโลหิตลดลงหรือมีการทํางานของระบบต่าง ๆ ล้มเหลว เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง

เป็นลม อุจจาระหรือปสสาวะราด เป็นต้น

2.4 มีอาการของระบบทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น

3. ความดันโลหิตลดลงเฉียบพลัน (เป็นหาที่หรือหลายชั่วโมง) หลังสัมผัสกับ “สารที่ ผู้ป่วยทราบว่าแพ้มาก่อน”

3.1 เด็ก : ค่าความดัน systolic ที่ต่ํากว่าความดันปกติตามอายุ หรือ

ลดลงมากกว่าร้อยละ 30 ของความดัน systolic เดิมๆ

3.2 ผู้ใหญ่ ความดัน Systolic ที่น้อยกว่า 90 mmHg หรือลดลงมากกว่าร้อยละ 30

http://www.allergy.or.th/2016/pdf/Thai_CPG_Anaphylaxis_2017_Full_version.pdf