Pulmonary embolism

Pulmonary embolism ลิ่มเลือดอุดตันในปอด

คือ

ความสำคัญ

ปัจจัยเสี่ยง

3 อย่างหลัก : Virchow’s triad

1.stasis จากการที่ร่างกายไม่ค่อยเคลื่อนไหว

2.hypercoagulability

3.vessel wall injury : local trauma, inflammation

โรคหรือปัจจัยเสียง

1.ผ่าตัด กระดูกขาหักใน 3 เดือน

2.เคยเป็น DVT,PE  หรือ มีประวัติในครอบครัว

3.หลังคลอด 3 สัปดาห์ หรือ ใช้ estrogen

4.immobilization นาน>3 วันใน เดือนที่ผ่านมา

5.เป็นโรคมะเร็ง

6.อื่นๆ ความอ้วน อายุมาก ยาเคมี สายสวน ใส่เผือก ตั้งครรภ์ การคลอด ยาคุมกำเนิด ฮอร์โมนทดแทน etc.

อาการ ไม่จำเพาะและหลากหลาย สิ่งสำคัญต้องรู้อาการบ่งชี้

Acute pulmonary thromboembolism

1.เหนื่อยทันทีทันใด + เจ็บหน้าอก หรือ ไอเป็นเลือด

Sudden onset : dyspnea , pleuritic chest pain or hemoptysis(pulmonary infarct)

2.หน้ามืดเป็นลม(cardiac output ลดลง) พบได้ไม่บ่อย หัวใจเต้นเร็ว

3.ระบบหัวใจ : เสียง P2 ดัง, rt ventricular heave หรือ rt ventricular S4 พบน้อย และพบใน massive pul. Embolism

4.ระบบหายใจ : pleural friction rub, rales, wheezing ในบางตำแหน่งของปอด

พยาธิสรีรวิทยา

มักเกิดจากลิ่มเลือดที่ femoral vein หลุดไปอุดตันเป็นส่วนใหญ่

ลิ่มเลือดที่น่อง มักไม่ค่อยทำให้เกิด PE เนื่องจากมักสลายตัวไปได้เอง

การวินิจฉัย

ดูอาการบ่งชี้ อาการต้นเหตุ กับ ผลทางห้องปฎิบัติการ

ต้นเหตุเส้นเลือดที่ขาอุดตัน(DVT) อาจพบขาบวม เส้นเลือดำอักเสบแดงร้อน

แยกกลุ่มอาการ

1.Acute pul. Infarct  เนื้อปอดที่อุดตันมี necrosis

S: pleuritic chest pain, hemoptysis

PE:  consolidation, plural friction rub, rales

CXR: small pleural effusion, Hampton’s hump sign(pleural base opacity)

2.Acute cor pulmonale/acute massive PE

S:เหนื่อย หน้ามืด เป็นลม ตัวเย็น เขียว

PE:hypotension, hypoxia, cardiovascular collapse

3.acute unexplained dyspnea

S: เหนื่อย หายใจเร็ว

PE: หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว hyperventilation +O2 sat drop( Hypoxemia, hypocapnia )

CXR: ปกติ

LAB

1.ABG, O2 sat : hypoxemia, hypocapnia, respiratory alkalosis

20% ไม่พบ hypoxemia

15% AA O2 gradient ปกติ

CXR

อาจปกติ(12%)

หรือผิดปกติ : small pleural effusion, atelectasis, Humpton’s sign, Westermark’s sign(oligemia), elevated diaphragm

EKG:  ไม่ค่อยเฉพาะเจาะจง

การตรวจจำเพาะ

1.ventilation-perfusion scan

2.compression ultrasound ที่ขา

3.spiral CT with intravenous contrast, CT angiography

4.Pulmonary angiography : GOLD STANDARD

5.Echocardiography : หัวใจห้องขวาโตขึ้น function ลดลง มักใช้ประเมินความรุนแรงมากกว่า ผลปกติใน PE ได้

6.D-dimer เกิดจาก fibrin ที่ถูกย่อยสลาย หากปกติ สามารถตัดโรค PE ออกไปได้เลย หากสูงมีโอกาส

D-dimer พบได้หลายโรค: MI, pneumonia, sepsis, มะเร็ง, ตั้งครรภ์ 2-3tri, หลังผ่าตัด เป็นต้น

DDX

1.MI, CHF

2.Pneumonia, pneumothorax

3.hyperventilation, shock

แนวทางการวินิจฉัย

Modified Wells Criteria

อาการ อาการแสดง ประวัติ

อาการ DVT ปวดขา ขาบวม

ไม่มีสาเหตุอื่น อธิบายอาการผู้ป่วยได้

Pulse > 100/min

Immobilization >2 วัน หรือผ่าตัด ในเดือนที่ผ่านมา

Hx : DVT/PE

มะเร็ง

 

คะแนน

3

3

1.5

1.5

1.5

1

1

โอกาสจะเป็น PE ทางด้านคลินิก clinical probalility

> 6  สูง

2-6  ปานกลาง

1  ต่ำ

 

 

การรักษา

unfractional heparin
Thrombolytic agent
Venous filter
สายสวนหรือผ่าตัด ในกรณีที่เป็นมาก และมีข้อห้ามการใช้ยาละลายลิ่มเลือด

การรักษาต่อเนื่อง

ให้ยาละลายลิ่มเลือด อย่างน้อย 6 เดือน ในกลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุ
กรณีมีปัจจัยเสี่ยงแก้ไขได้ให้อย่างน้อย 3 เดือน
กรณี recurrent หรือ เสี่ยงแก้ไม่ได้ ให้ 2 ปี หรือตลอดไป

 

Ref.

http://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/Acute%20pulmonary%20embolism%20%E0%B8%AD%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3.pdf

http://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/Pulmonary%20embolism%20%E0%B8%AD%20%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%9E%E0%B8%A5.pdf