Paracetamal poisoning

Paracetamal poisoning

คำนวน Dose acytylcysteine

Qx Rx:

1.NG irrigation in 2hr หลังกิน นานกว่านี้ไม่ต้องล้าง

2.Activated charcoal 50 mg/kg(กรณีกินมาไม่เกิน 4 hr) ให้ dose เดียว

3.NAC dose 20 hrs iv protocal ได้ผลใน 24 ชั่วโมงหรือก่อน SGOT ขึ้น

1hr.Loading dose :NAC 150mg/kg in D5W 200 ml iv in 60 min

4hr. :NAC 50 mg/kg in D5W 500 ml iv in 4 hr

16hr :NAC 100 mg/kg in D5W 1000 ml in 16 hr

หรือ 72 hr oral protocol

loading 140mg/kg then 70mg/kg q 4hr x 17 ครั้ง

Guideline for treatment

Single acute ingestion

ข้อบ่งชี้การรักษา ได้รับ >150-200mg/kg or unknown dose

1. Post ingestion : < 4 hrs

Check : paracetamal level at 4 hrs. Plot on nomogram, treat if indicated

2. Post ingestion : 4-8 hrs

Check : immediate paracetamal level. Plot on nomogram, treat if indicated

3. Post ingestion : > 8 hrs

Treatment : ให้ NAC ทันที

Check : paracetamal level. + ALT Plot on nomogram, continue or crease depend on treatment line

Multiple supratherapeutic ingestion

ข้อบ่งชี้การรักษา paracetamal เกินดังนี้

1.> 200mg/kg over 1 day or

2.> 150 mg/kg/day over 2 days or

3.> 100 mg/kg/day over severaldays

Check : paracetamal level and ALT

1.No risk : if ALT normal, paracetamal level<120 micromol/l

2.Risk : High ALT and/or High paracetamal level : commence NAC and consult specialist

MDNote:

1 .ไม่มีประโยชน์ในการวัดค่า paracetamal ก่อนเวลา 4 ชั่วโมงหลังกินยา

2. ผู้ป่วยที่กินยามานานเกิน 8 ชั่วโมง หรือมีอาการของยาพาราเซตเป็นพิษ คือ ปวดท้องRUQ คลื่นไส้ อาเจียน ควรเริ่มให้ยา NAC ในทันที รอผลค่า paracetamal level แล้วพิจารณาให้ต่อหรือหยุดยาตามผลที่ได้

3. ผู้ป่วยที่กินยามานานไม่เกิน 8 ชั่วโมง ถึอว่าอยู่ในกลุ่มที่รอได้ ควรรอผลของ paracetamal level ก่อนเพื่อประเมินว่าผู้ป่วยต้องการรักษาด้วย NAC หรือไม่

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Paracetamal poisoning

paracetamol

เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนที่ตับ โดยส่วนใหญ่ของยาจะ conjugate กับ glucuronide และ sulfate เกิดเป็นสารที่ nontoxic แล้วขจัดออกจากร่างกาย ส่วนน้อยของยาจะถูก metabolized โดย cytochrome P-450 system เกิดเป็น toxic metabolite คือ N-acetyl-p-benzoquinoneimine แต่ในร่างกายมี glutathione ซึ่งมี sulfhydyl group เป็น reducing agent ที่จะจับกับ toxic metabolite ตัวนี้ ได้เป็น mercapturic acid และขจัดออกจากร่างกาย ดังนั้นตราบที่ร่างกายยังมี glutathione เพียงพอ toxic metabolite นี้จะถูก detoxified จึงไม่เกิดพิษจากยา แต่ในภาวะที่ได้รับ paracetamol เกินขนาด แม้ว่าส่วนหนึ่งของยาจะถูก conjugate ส่วนที่เหลือ จะยังถูกเปลี่ยนเป็น toxic metabolite จำนวนมาก จนเกินที่ glutathione จะ detoxified ได้หมด ผลก็คือจะมี toxic metabolite จำนวนมากจนทำให้เกิดเป็น พิษต่อร่างกายขึ้น

Paracetamal overdose คือ

การได้รับยาพาราเซตตามอล เกินขนาด คือ มากกว่า 150 mg/kg ภายใน 24 ชั่วโมง

ตัวอย่างเช่น

ผู้ป่วยหนัก 50 kg

ขนาดที่ได้รับยาเกินคือ 150*50 = 7,500 mg

เท่ากับยา paracetamal(500mg/tap)*15tab

ดังนั้นหากรับประทานยา จำนวน 15 เม็ดขึ้นไป จะมีโอกาสที่จะเกิดพิษต่อร่างกายได้

Paracetamal 500 mg

Wt 80 kg = 24 tab

Wt 70 kg = 21 tab

Wt 60 kg = 18 tab

Wt 50 kg = 15 tab

Wt 40 kg = 12 tab

นอกจากนี้การจะพิจารณาว่าผู้ป่วยรายใดควรจะได้รับการรักษา ดังนี้

1. กินครั้งเดียวมากกว่า 200 mg/kg

2. กินมากไม่ทราบจำนวน

3. กินซ้ำกันหลายๆครั้งมากกว่า 100mg/kg/day

ยกเว้นหากผู้ป่วย มีปัจจัยเสี่ยง :

Alcoholism, ทุพโภชนา, โรคตับ, กินยา enzyme inducer

(carbamazepine, phenobarbital, rifampicin, phenytoin)

ผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ใช้ ระดับยาเกินขนาดที่ 75 mg/kg(50kg=7tab)

คือ ให้ลดขนาดลง 50 % ของขนาดในคนปกติ

อาการ

ในระยะแรกอาจไม่มีอาการอะไร หรือ มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องด้านขวาบน ต่อมาจะมี อาการตัวเหลืองตาเหลือง และภาวะตับวายตามมา

อาการพิษจากพาราเซตามอล แบ่ง 3 ระยะ

1.ระยะที่ 1 30min-24hr คลื่นไส้ อาเจียน หน้าซีด เหงื่อออก อาการไม่เฉพาะเจาะจง

ผู้ป่วย 30%จะไม่มีอาการ

2.ระยะที่ 2 24-28hr หลังกิน คลื่นไส้ อาเจียนมากขึ้น ค่า AST,ALT, birilubin สูงขึ้น, PT นานขึ้น

อาจปวดท้องขวาบนที่ตับ แสดงว่ามีการทำลายตับ

3.ระยะที่ 3 72-96 hr ตับถูกทำลายมากขึ้น เกิด hepatic encephalopathy

serum ammonia สูง, coagulation defectes, jaundice, ไตวายได้

ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการถึงระยะที่ 3 หรือรอดชีวิตจากระยะนี้

อาการจะดีขึ้นภายใน 3 วัน และสามารถกลับมาปกติได้ใน 2 สัปดาห์

การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1. CBC,LFT,PT,INR

2. Paracetamal level ที่ 4 และ 15 ชั่วโมง

การวัดค่า plasma paracetamal concentration

-จะบ่งชี้ถึงความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะ hepatotoxic ได้ดีกว่าจำนวนยาที่รับประทานหรืออาการของผู้ป่วย

-โดยดูเปรียบเทียบกราฟ จาก semilogarithmic plot ที่เรียกว่า Rumack Matthew nomogram เป็นตัวกำหนดแนวทางการการรักษาที่สำคัญ

3.กรณีเกิดตับอักเสบ การตรวจ AST,ALT ไม่ช่วยพยากรณ์โรค แต่ให้ตรวจติดตาม Prothrombin time จะช่วยมากกว่า

การรักษา

แนวทางการรักษาที่สำคัญ ขึ้นอยู่กับระดับของยา paracetabmal ในเลือด

โดยการตรวจเลือดที่ 4, 15 ชั่วโมง

1.หาก plasma paracetamol มากกว่า 200 mcg/ml ที่ 4 ชั่วโมง หลังรับประทาน หรือ

2.มากกว่า 100mcg/ml ที่ 8 ชั่วโมง หรือ

3.มากกว่า 30 ug/dl ที่ 15 ชั่วโมงหลังรับประทาน

จะมีโอกาสเกิด severe hepatic damage ซึ่งค่า plasma transaminase activity (ALT/AST)

ที่ตรวจได้มีค่ามากกว่า 1000 IU/L ในบางภาวะอาจทำให้เกิด hepatotoxic

ในระดับยาที่ต่ำกว่านี้ เช่น chronic alcohol abuse, เมื่อใช้ร่วมกับยาบางตัว เช่น anticonvulsant, isoniazid, ภาวะ eating disorder เช่น anorexia nervosa หรือ starvation เป็นต้น

Treatment level

ปัจจุบันมีการกำหนด treatment level

เมื่อ plasma paracetamol มากกว่า 150 ug/dl ที่ 4 ชั่วโมง หลังรับประทาน

และ 30 ug/dl ที่ 15 ชั่วโมงหลังรับประทาน

การรักษาทั่วไป

1. Gastric lavage ต้องทำภายใน 4 ชั่วโมง เป็นอย่างช้า ยิ่งช้ายิ่งได้ผลลดลง

ได้ผลดีำหากทำภายใน 2 ชั่วโมงหลังกิน

2. Activated charcoal ขนาดที่ให้

- ผู้ใหญ่ 50 gm ใส่ NG feed

- เด็ก 1 gm/kg

เพียง 1 dose ก็พอ

ได้ผลดีเมื่อให้ภายใน 2 ชั่วโมงแรก ไม่เกิน 4 ชั่วโมง

ทั้งนี้การให้ activated charcoal ต้องดูความร่วมมือและระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเพื่อป้องกันการ aspiration และกรณีที่ผู้ป่วยกินยา paracet syrup จะมีการดูดซึมเร็วมากภายใน 1 ชั่วโมง การให้ activated charcoal อาจไม่ได้ประโยชน์มากนัก

Antidote

N-acetylcysteine โดยพิจารณาให้เมื่อค่าparacetamal level สูงกว่ากำหนด

การรักษาได้ผลดีที่สุดภายใน 10 ชั่วโมง สามารถป้องกันตับวายได้

10-24 ชั่วโมงก็ยังได้ผลดี แต่ถ้ามากกว่า 24 ชั่วโมงจะไม่ได้ผล

(หากเกิน 24 ชั่วโมง ดู LFT หากผิดปกติให้ NAC หากปกติไม่ต้องให้

หากเกิน 48 ชั่วโมงอย่างไรก็ไม่ได้ผล ไม่จำเป็นต้องให้)

N-Acetyl cysteine (NAC) infusion chart

กราฟ: Rumack Matthew nomogram

ค่า paracetamal ในเวลาต่างๆ ที่เสี่ยงต่อการเกิดพิษต่อตับ เริ่มวัดที่ 4 ชั่วโมง

เส้นแดงคือค่าที่บอกว่ามีโอกาสเกิดตับอักเสบ หากสูงกว่าต้องรักษาแล้ว

Dosage:

ผู้ใหญ๋ 20 hr protocal

LD:NAC 150mg/kg in D5W 200 ml iv = 60 min หรือ 15 min

MD:NAC 50 mg/kg in D5W 500 ml iv = 4 hr

then NAC 100 mg/kg in D5W 1000 ml = 16 hr

เด็ก

LD:NAC 150mg/kg in D5W 3 ml/kg iv = 60 min หรือ 15 min

MD:NAC 50 mg/kg in D5W 7 ml/kg iv = 4 hr

then NAC 100 mg/kg in D5W 14 ml/kg = 16 hr

หลังให้สังเกตุอาการ ADR ของยา NAC: rash, flushing, chest pain,tachycardia,fever, hypotension, bronchospasm, angioedema

ติดตาม

paracetamal level/ ALT q 12 hr

หากค่าไม่ลด ให้ NAC 6.25mg/kg/hr ต่อ

หากค่าลดลง หยุดให้ NAC ได้

reference

1.http://www.rch.org.au/clinicalguide/cpg.cfm?doc_id=5436CPG paracetamal poisoning

2.ER rama