Aortic dissection

Aortic Dissection


Aortic dissection คือ หลอดเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด


อุบัติการณ์

ชาย:หญิง 2:1

อายุ 40-80y


ความเสี่ยงสำคัญ

ประวัติครอบครัว

Chronic HT พบ 80%

Marphan’s dysdrome, Ehlers-Danlos syndrome

อื่นๆ สูบบุหรี่ ไขมันสูง อื่นๆ



Pathophysiology

Aorta มีผนัง 3 ชั้น Intima(ชั้นใน), media, adventitia(ชั้นนอก)

Aortic dissection สาเหตุมักมาจาก hypertension ทำให้เกิด intimal wall stress กับ การเสื่อมของ media layer และ มักเกิดในชั้น intima

Abdominal Aortic Aneurysm สาเหตุมักมาจาก atherosclerosis มักจะ involve ผนัง ทั้ง 3 ชั้น



Types: Standford Classification

  • Type A (60-65%, Debakey Type I and II)

    1. Ascending Aorta and/or aortic arch (dissection may extend intracardiac) ทั้งหมด

    2. In a Debakey Type II, the Aortic Dissection is limited to the aortic arch

  • Type B (30-35%, Debakey Type III)

    1. Descending Aorta (after origin of subclavian artery)


อาการ

Clinical Presentation

1.เจ็บหน้าอกเหมือนหัวใจขาดเลือด

เจ็บแน่นหน้าอก ฉับพลับทันที รุนแรง ปวดร้าวไปกราม คอ ไหล่ สะบัก

ลักษณะ ปวดแบบ sharp pain , tearing/ripping เหมือนอะไรฉีก

แน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม

กรณีเจ็บอกแบบนี้ Chest pain ควรสงสัย ACS, PE, Pericarditis และ Aortic dissection

มาด้วย -เจ็บหน้าอก(type A2) ปวดท้อง(type B) เมื่อไหร่นึกถึง

ยิ่งเจ็บหน้าอก เหมือนอะไรฉีก แปล็บแทง อกหลังช่องท้อง ควรนึกถึง

บางทีปวดร้าวถึงขา

ถ้าปวดแบบ MI จะไม่ปวดหลัง ไม่ปวดท้อง ไม่ปวดขา และค่อยๆเป็น

2.Stroke/Cerebrovascular accident อาจเกิดจาก carotid a. Malperfusion มีปัญหาการพูด การมองเห็นกล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาตครึ่งซีก เป็นลม

มาด้วย Stroke เมื่อไหร่นึกถึง..

3.Pressure effect กลืนลำบาก

4.Hypovolemic shock เหงื่อออก หน้ามืดเป็นลม เจ็บหน้าอก บางรายชักเกร็งได้

5.Artery artery malperfusion หรือ end organ ischemia

Stroke: carotid artery malperfusion

Paraplegia, Paresthesias : spinal artery malperfusion

Cold painful leg : iliac artery malperfusion

Abdominal pain, mesenteruc ischemia : SMA malperfusion

AMI : coronary artery malperfusion

AKI: renal artery malperfusion


Diagnosis

Classic triad

  1. Severe abrupt onset, ripping or tearing chest pain that radiates to back AND

  2. Pulse deficit or difference in upper extremity BP >20 mmHg AND

  3. Mediastinal widening or aortic knob widening on CXR


การวินิจฉัย

สิ่งสำคัญ คือ มีอาการนำคล้ายกับหลายโรค

ต้องให้ความสำคัญและนึกถึงอยู่เสมอ


การตรวจร่างกายสำคัญ

BP มักสูง

Pulse deficit, palpable pulse diferential ต่างกัน 2 ข้าง 30%

Aortic regurgitation mumur. 30%

Cardiac tamponade 5% in type A

อาการอื่นตรวจพบของ artery malperfusion


การตรวจวินิจฉัย

Echocardiogram -sensitivity 70%

EKG- ดู pericardial effusion หรือไม่

Acute aortic dissection score ADD-RS

Aortic angiography : gold standard

CT Angiography chest : sensitivity 100%

CXR : sensitivity 65% wide mediastinum, abnormal aortic contour, calcium sign, left pleural effusion, deviation ของ esophagus/trachea rightward หรือ right mainstem bronchus downward


Management

Goal : keep lower

Blood pressure sBP<120 mmHg

HR goal < 60 bpm

Pain control

Definitive surgery consult CVT

ยาลดความดัน

-labetalol 10-20 mg IV > 2 min titrate q 10 min หรือ esmolol IV หรือถ้าไม่มี β-blocker IV อาจให้metoprolol 25-50 mg PO q 6 h, propranolol 10-40 mg PO q 6 h ร่วมกับ nicardipine IV)



Ref.


https://fpnotebook.com/cv/Vessel/ArtcDsctn.htm

https://ergoldbook.blogspot.com/2012/07/acute-aortic-syndrome.html



Abdominal Aortic Aneurysm (symptomatic)


เพศ​ ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย
อายุ > 60 ปี
ประวัติครอบครัว มีประวัติ aneurysm ที่อื่นๆ
ประวัติ สูบบุหรี่

อาการ
มักมาด้วย
back pain หรือ abdominal pain อย่างรุนแรงทันทีทันใด
อาจจะมีลักษณะปวดแบบ ripping/tearing pain

อาการร่วม อื่น
อาจจะมาด้วย
syncope, hypotension,
flank pain, groin pain, hip pain, bladder pain, tenesmus,
GI bleed (aortoduodenal fistula),
aortovenous fistula (
มาด้วย high output HF),
extremities ischemia (thrombus
จาก aneurysm)

ตรวจร่างกาย
Pulsatile abdominal mass (> 70% ถ้าขนาด > 5 cm);
ตรวจร่างกายอื่นๆ
พบน้อย เช่น
periumbilical ecchymosis (Cullen sign),
flank ecchymosis (Grey Turnur sign), iliopsoas sign, femoral neuropathy

Investigation
Bedside US
(> 3 cm วัดจากขอบนอกถึงขอบนอก),
Plain abdominal films AP + lateral (> 65% จะเห็นcalcified aorta),
CT with IV contrast (หรือทำ noncontrast ก็สามารถเห็น aneurysm size และ retroperitoneal hemorrhage ได้)


Treatment:
consult vascular surgeon (
ถ้าสงสัยไม่ควรเสียเวลารอ investigation)
Resuscitation
จำกัดการให้
fluid resuscitation โดยมีเป้าหมาย SBP > 90 และ intact mental status,
อาจให้ β-blocker IV (esmolol) เพื่อลดโอกาสเกิด dysrhythmia และ MI ใน perioperative period;
ใน asymptomatic AAA ที่ > 5 cm รีบนัดให้F/U


https://ergoldbook.blogspot.com/2012/07/acute-aortic-syndrome.html