Polycythemia vera

Polycythemia vera

QxDx: (Hct ผู้ชาย>52%(Hb>18.5g/dl), ผู้หญิง>47%(>16.5g/dl) )

Major criteria

1.Red blood cell mass สูง(ชาย>36ml/kg,หญิง>32ml/kg)[ประมาณHct ผู้ชาย>52%, ผู้หญิง>47%]

2.Normal O2 sat. ปกติ(>92%)

3.Splenomegaly

Minor criteria

1. Leucocyte alkaline phosphatase(LAP)สูง (> 100U/L)

2. Serum vitB12 สูง(>900pg/ml) หรือ B12 binding capacity สูง(>2,200gm/ml)

3. Platlet สูง(>400,000/cumm)

4. WBC สูง(>12,000/cumm)

การวินิจฉัยใช้ 3 major criteria หรือ 2 major แรก+2 minor criteria

คือ โรคที่มี erythrocytosis ที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด

(pleuripotent stem cell เจริญเติบโตมากผิดปกติ) โดยอาจมีเม็ดเลือดแดงสูงอย่างเดียวหรือสูงทั้ง RBC,WBC และ Platlet

เป็นโรคในกลุ่ม myeloproliferative disorders

ลักษณะสำคัญ คือ มี RBC mass สูง (erythrocytosis) ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะ hyperviscosity และ ทำให้เกิด thrombosis ตามมา

Epidermiology

พบบ่อยในผู้สูงอายุ ประมาณ 60 ปี

คนอายุ<20 ปี พบน้อยมากเพียง 0.1% ของผู้ป่วยทั้งหมด

ชาย:หญิง 2.8:1.3/100,000 ราย

Clinical presentation

มี 2 แบบ

1.แบบมีอาการ ได้แก่ ปวดศีรษะ มึนงง ออนเพลีย คันตามตัว โดยเฉพาะหลังอาบน้ำ อาจพบอาการอื่นร่วมด้วย เช่น

- erythromylalgia: ปวดแสบร้อนที่แขนหรือขา เป็นลักษณะของ neurovascular pain ตรวจพบผิวหนังมีลักษณะ hyperemia, inflammation และ edema

- GI disturbances

2. แบบไม่มีอาการแต่ตรวจพบโดยบังเอิญ(incidental finding) จากการตรวจ CBC พบ Hct หรือ Hb สูง

Diagnosis

มี 2 ขั้นตอน

1.Exclude secondary erythrocytosis ก่อน

2.Diagnosis โดยใช้ criteria จัดทำโดย PVSG(polycytemia vera study group)

Criteria diagnosis

Major criteria

1.Red blood cell mass สูง(ชาย>36ml/kg,หญิง>32ml/kg)[ประมาณHctชาย>52%,หญิง>47%]

2.Normal O2 sat. ปกติ(>92%)

3.Splenomegaly

Minor criteria

1. Leucocyte alkaline phosphatase(LAP)สูง (> 100U/L)

2. Serum vitB12 สูง(>900pg/ml) หรือ B12 binding capacity สูง(>2,200gm/ml)

3. Platlet สูง(>400,000/cumm)

4. WBC สูง(>12,000/cumm)

การวินิจฉัยใช้ 3 major criteria หรือ 2 major แรก+2 minor criteria

ตัวช่วยอื่นๆ ในการวินิจฉัย

-serum erythropoietin จะต่ำหรือปกติก็ได้ ถ้าต่ำจะช่วยวินิจฉัย(sens.70%spec.90%)

-bone marrow biopsy จะช่วยในการวินิจฉัยได้เช่นกัน

ภาวะแทรกซ้อนของโรค

Thrombotic event : การเกิดภาวะเส้นเลือดอุดตัน เป็นปัญหาหลักที่ทำให้เกิด morbidity และ mortality สามารถเกิดได้ทั้งใน artery และ vein พบได้ถึง 1/3 ของผู้ป่วยในขณะที่วินิจฉัยได้

ได้แก่การเกิด : CVA, MI, DVT, peripheral arterial occlusion, pulmonary infaction etc.

การรักษา

มีหลายวิธีขึ้นกับความเหมาะสมของผู้ป่วยในแต่ละหลาย และ ไม่มีวิธีการใดเพียงวิธีเดียวที่ใช้ได้ผลดีที่สุด

เป้าหมายการรักษา คือ ลดการเกิดภาวะ thromboembolism

และรักษาตามอาการ เช่น อาการคัน, ปวดแสบร้อน ปลายขาเท้า เป็นต้น

เนื่องจากโรคนี้พบน้อย จึงต้องมีการศีกษาร่วมกันหลายสถาบัน คือ PVSG, GISG(Gruppo Italiano Studio Policitemia) ร่วมกันสรุปการรักษา แบ่ง 2 ส่วนหลัก

1. Phlebotomy อย่างเดียว

2. Phlebotomy ร่วมกับ การใช้ immunosuppressive agents

การรักษาโดย Phlebotomy

เป้าหมาย: ลด Hct ชาย< 45% หญิง <42%

Survival rate: ประมาณ 11 ปี จากการทำ Phlebotomy อย่างเดียว(โรคนี้เป็นโรคของผู้สูงอายุ ประมาณ 60 ปี)

ข้อดี : ทำง่าย ปลอดภัย ไม่มีความเสี่ยง

ข้อเสีย : พบภาวะ thrombosis ในช่วง 3 ปีแรกของการรักษา มากกว่าการใช้ myelo suppressive แต่หลัง 3 ปีแล้วเท่ากัน

70% ของแพทย์ใช้ เป็น first line treatment: by American society of hematology.

การรักษาโดย Immunosuppressive

Radioactive phosphorus(32P)

Chlorambucil(Leukeran)

Busulfan(Myleran)

Pipobroman(Vercyte)

Hydroxyurea(Hydrea)

มีที่ไช้ 3 ตัวคือ 32P, Hydrea, interferon alfa-2b นำมาใช้ร่วมกับการทำ Phlebotomy

ส่วน Myleran, Vercyte, Leukeran เป็น alkylating agent ไม่ใช้เนื่องจากเสี่ยงต่อการเป็น leukemia มากขึ้น

1.32P : radiopharmaceutical gr.

Survival rate: เท่ากับ การใช้ Phlebotomy อย่างเดียว

Thrombotic rate: น้อยกว่า การใช้ Phlebotomy อย่างเดียว แต่หลัง 3 ปีเท่ากัน

Risk for malignancy : หลัง 6 ปีในการรักษา ความเสียงเพิ่มขึ้น 2.3-4 เท่า

2.Hydrea : antimetabolite gr.

นิยมใช้มาก ปลอดภัย มีความเสี่ยงน้อยต่อการเป็น leukemia สามารถกดไขกระดูกได้ดี

Thrombotic rate: ลดการเกิดได้ดี ให้ระยะยาวได้

3.Interferon alfa-2b : ลด myeloproliferation ลดขนาดม้ามได้ รักษาอาการคัน ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิด mutagenic potential ใช้ในผู้ป่วยที่อายุน้อยได้ดี จากการศึกษา การใช้ I-F alfa-2b อย่างเดียวสามารถทำให้ RC indices กลับสู่ปกติใน 6-12 เดือน และไม่พบการเกิด thrombotic event แต่ราคาแพงและมีผลข้างเคียงอื่นๆ

การรักษาอื่นๆ

-การลด platelet count โดยใช้ anagrelide ร่วมในการรักษา PV แต่การศึกษายังไม่ช้ดเจน

-การใช้ ASA 300 mg + phlebotomy พบอัตราการเกิด GI bleeding สูงขี้น

-การใช้ low dose ASA 40 mg/day ไม่พบว่าเพิ่มความเสี่ยงต่อการมีเลือดออกเพิ่มขึ้น

สรุปการรักษาตามความเหมาะสมของผู้ป่วย แบ่ง 3 กลุ่มตามความเสี่ยง

1. Low risk: อายุ< 60, platelet count< 150,000/mm3, ไม่มีประวัติ thrombocytosis

Rx: phlebotomy alone

2. Intermediate risk:อายุ < 60, platelet count> 150,000/mm3, มีประวัติ thrombocytosis, มี cardiovascular risk

Rx:phlebotomy +- myelosuppressive agent+- platelet function/number acting drug

3. High risk:อายุ >60, มีประวัติ thrombosis

Rx: myelosuppressive agent + phlebotomy

Prognosis

ไม่รักษาอายุขัย 1.5 ปี

รักษาอายุขัย > 10 ปี

Ref.

http://www.aafp.org/afp/2004/0501/p2139.html