QxDx หญิงมีอายุ ปวดใบหน้าตามเส้นประสาท แสบร้อนเหมือนเข็มแทง รุนแรงสั้นๆเป็นพักๆ
Trigeminal Neuralgia : โรคปวดเส้นประสาทใบหน้า
เพศ
หญิงมากกว่าชาย
อายุ
วัยผู้ใหญ่-สูงอายุ 50-70 ปี
อาการ
ตำแหน่ง ปวดใบหน้าด้านใดด้านหนึ่ง อาจปวดกระพุ้งแก้ม เหงือกและฟันอย่างรุนแรง บริเวณ maxilla-mandibular area
ความรุนแรง มักมีอาการปวดรุนแรง สั้นๆ
ลักษณะปวด เหมือนโดนเข็มแทง เหมือนไฟช็อต ปวดแสบร้อน บางรายเหมือนปวดฟัน
ช่วงเวลา ปวดรุนแรงเป็นพักๆ ในเวลาสั้นๆไม่กี่นาที แต่เกิดซ้ำๆถี่ๆได้ตลอดวัน มักไม่ปวดตอนนอน
ความถี่ขึ้นกับความไวของจุด trigger point
จุดกระตุ้น Trigger point การสัมผัสบางตำแหน่งอาจทำให้กระตุ้นการปวดได้ เช่น การล้างหน้า แปรงฟัน โกนหนวด พูดคุย เคี้ยว การกลืน เคาะฟัน เป็นต้น เป็นหลังกระตุ้นไม่กี่วินาที
สาเหตุ มีหลายสาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจาก เส้นเลือดกดทับ CN-V ทำหน้าที่รับความรู้สึกจากช่องปากและใบหน้า
สาเหตุอื่น
-เนื้องอกสมอง กดที่ trigeminal nerve root พบน้อย 2%
-ปลอกประสาทเสื่อม(multiple sclerosis) พบสาเหตุนี้ 2-4% มักมีอาการทั้งสองข้าง และอายุน้อย 20-30 ปี
-Post herpestic neuralgia พบบ่อยในผู้สูงอายุ อาการปวดต่อเนื่อง ปวดแปล๊บๆแสบร้อนได้
-post facial trauma
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง
DDX
- Odontalgia (pulpitis )
- Pain associated with TMJ disorders
- Atypical Facial pain
- Cluster tic syndrome
- idiopathic stabbing headache
- SUNCT syndrome (short-lasting ,unilateral ,neuralgiform pain with conjunctival injection and tearing
- Secondary Trigeminal Neuralgia from CNS lesions
- Post Heerpetic Neuralgia
- Secondary Trigeminal Neuralgia from Facial trauma
- Glossopharyngeal Neuralgia
- Maxillary sinusitis
- Temporal arthritis
การรักษา
ยารับประทาน ใช้รักษาอาการปวดในระยะแรกดีมาก แต่เป็นแค่รักษาอาการไม่ได้รักษาต้นเหตุ
ไม่หายขาด ขาดยาเป็นซ้ำ และ เมื่อรักษาไปจะไม่ค่อยได้ผล
1.Carbamazepine 1st line drug เริ่ม 100-200 mg Maintenance 200-600-1200 mg
tab 200 mg 1 hs/1*2-2*2 pc
70% อาการดีขึ้น หลังปรับยาขึ้นไปประมาณ 6-8 สัปดาห์
ค่อยๆลดยา หยุดเมื่ออาการหาย 3-6 เดือน
2.Phenytoin 2nd line drug เริ่ม 200 mg Maintenance 300-500 mg
ใช้ร่วมกับ carbamazepine หรือ baclofen
หริือใช้เมื่อ carbamazepine ไม่ได้ผล
3.Valpoate 600-1200mg
Baclofen (lioresal) เริ่ม 10-15 mg Maintenance 50-60 mg
เป็น gamma-aminobutyric acid agonist จริงๆแล้วเป็น muscle relaxant และ antispasmatic
Clonazepam เริ่ม 1.5 mg Maintenance 1.5-2 mg
การให้ antidepressant ร่วมกับ antiepileptic drug
ลดระดับความปวดได้ ลดความวิตกกังวลต่อความเจ็บปวด
Amitryptyline 10 mg/day ก็พอ
ยาอื่นๆ
-Trileptal, Neurontin
-ยากันชัก Clonazepam, oxcarbazepine ,Iamotrigine ,Vaprolic acid
-กลุ่ม antipsychotic เช่น pimozide ,haloperidol
-กลุ่ม synthetic prostaglandin E1 analog อย่าง Misoprostol
-ใน case severe pain อาจให้ tricyclic antidepressant
ยาแก้ปวด-อื่นที่ไม่ส่งผลต่อการรักษา trigeminal neuralgia : ใช่ไม่ได้ผล
เช่น NSAIDs, Ergotamine ,Tranquilizers ,Sedative hypnotics ,Beta receptor blockers, Serotonin antagonist ,calcium antagonist และ vitamine ทั้งหลายให้แล้วก็ไม่ได้ผลเหมือนกัน
รักษาโดยทำลายเส้นประสาท
1.Percutaneous radiofrequency rhizotomy
2.Radiosurgery
อื่นๆ บอลลูนดทำลายเส้นประสาท, ฉีดกรีเซอรอลทำลายปลอกประสาท เป็นต้น
ข้อดี ได้ผลดี การรักษามีความเสี่ยงต่ำ ไม่ต้องadmit
ข้อเสีย ชาหน้า เหมือนฉีดยาชา
การผ่าตัด
กรณีเส้นเลือดสมองไปกดเบียดเส้นประสาท โอกาสหายสูง ไม่มีปัญหาใบหน้าชา
http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/admin/article_files/838_1.pdf