Ventilator term and setting

ค่าต่างๆ ขณะใช้เครื่องหายใจ

เลือกตามหมวดที่คุ้นเคย

Vt 8-10 cc/kg (VC)

RR 12-16-18 /min [COPD 10-12]

FiO2 0.4-1 keep sat > 90%

Trigger sense. -2 ถึง -3

PIP ไม่เกิน 20-30 cmH2O (PC)

PF 50 L/min

อื่นๆ

PEEP 3-5

IF 40-60 L/min

(COPD,asthma 60-80-100)

PS 10-15-20 อาจเริ่ม 20 ค่อยๆลดลง

PEEP 3-5

[5,10 ใช้กรณี FiO2 100 แล้ว sat<90%]

[ระวัง BP drop ต้องลด PEEP]

I:E 1:2 COPD 1:3-4

ส่วนใหญ่ตั้ง

-TV PEEP RR FiO2

-PIP PEEP RR FiO2

-PF{IF} PEEP RR FiO2

-Peak Flow(IF) 45-60 special 60-80

..................................................................................................

แรงดันในปอด

เริ่มจาก Trigger : Sensitivity

ค่อยๆสูง สูงสุด : P peak {PIP:peak inspiratory pressure}

คงระดับ : P plateau

ปล่อยออกร่วงเร็ว

*ค่าความต่างระหว่าง Ppeak กับ Ppla คือ airway resistance

PIP ปกติตั้ง 20-25 ก่อนแล้วค่อยๆลด ให้ได้ Vt 5-6 ml/kg

PEEP แรงดันบวกค้างตอนหายใจออก จากเครื่อง เพื่อป้องกัน alveolar collapse

ปกติ 3-5 cmH2O สำหรับ acute lung injury, ARDS อาจตั้ง 8-16 cmH2O หรือมากกว่า

PS ใช้ช่วยกรณีที่ lung compliance ลดลง ดูจาก Vt ที่ลดลง ให้ได้ Vt>6ml/kg

10-15-20 ตอน wean ค่อยๆลดจนเหลือ 0 ได้

ปกติแรงดันช่วย มักจะไม่ถึงค่า PIP

..................................................................................................

ปริมาตรลม

Tidal volume (Vt) ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าต่อครั้ง (วัดตอนหายใจออก)

ปกติตั้ง 8-10 ml/kg

*ติดตามดู plateau pressure ควรน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 cmH2O กันปอดแตก

กรณี acute lung injury /ARDS

ให้ตั้ง 4-8 ml/kg

-------------------

Minute volume (MV) ปริมาณลมหายใจออกทั้งหมดต่อ 1 นาที (Vt*RR)

=200-300 ml/kg

..................................................................................................

อัตราการหายใจ

ตั้งเพิ่อให้ได้ MV ที่เพียงพอ ปกติ MV 120 ml/kg

BW 60 kg ,Vt 600ml * 12 = 7200/60 = 120 ml/kg

ปกติ 12ครั้ง/min

สำหรับเด็ก

< 1 ปี 30 ครั้ง/min

1-6 ปี 20 ครั้ง/min

>6 ปี 15 ครั้ง/min

..................................................................................................

การไหล

Inspiratory flow (IF) อัตราการไหลอากาศเข้าปอด L/min

มี 3 แบบ Square คงที่ , decelerated สูงค่อยๆลด , Sine ค่อยๆสูงค่อยๆลด

นิยม decelerated

Flow rate 60L/min กรณีที่ตั้งแบบ VCV

Inspiratory time 1 วินาที กรณีที่ตั้งแบบ VCV

..................................................................................................

เวลา

I:E ratio หายใจเข้าต่อหายใจออก น้อยกว่า 1 เสมอ

*ปกติไม่จำเป็นต้องตั้ง

ค่าปกติ 1:2-3

Tin เวลาหายใจเข้า เวลาที่ให้ก๊าซกระจายทั่วทั้งปอด

Tex เวลาหายใจออก ให้ออกจากปอดให้หมด

..................................................................................................

FiO2 ให้น้อยที่สุดที่ควบคุมค่า O2 sat ได้ [PaO2 >60mmHg,O2>90%]

FiO2 ปกติ 0.21-1

ปอดปกติให้เริ่ม 0.4-0.6 แล้วค่อยปรับต่อ

ปอดผิดปกติหรือไม่รู้ 1.0 แล้วค่อยปรับต่อ

[Fractional inspired oxygen concentration]

..................................................................................................

Trigger : Sensitivity (S) ค่ากำหนดให้มี trigger จากผู้ป่วยเพื่อหายใจเข้า

ปกติ (-1)-(-2)

*ไม่ตั้งไวไปจะเกิดเป็น autotrigger ไม่ตั้งหนักเกินกว่า -2

..................................................................................................

Alarm

-HPL ตั้งสูงกว่า PIP ราว 10 cmH2O มักไม่เกิน 30-35 cmH20

high pressure limit ตั้งประมาณ 30

-LPL ตั้ง 5-10 cmH2O กันไว้เมื่อรั่วหรือท่อหลุด

low pressure limit ตั้งประมาณ 5

-Low Vt, Low MV

..................................................................................................

การติดตามหลังใส่เครื่องช่วยหายใจ

Gas exchange

-PaO2

-O2 saturation

-PaO2

-pH

Airway pressure

Peak airway pressure

Plateau pressure(external / auto PEEP)

PEEP

Respiratory waveform

Breathing pattern

RR

MV

Vt

Cardiovascular system

BP, CO, Urine output

ref.

http://www.ccmtutorials.com/rs/mv/strategy/page11.htm