Hyponatremia disease

Hyponatremia approach ตามโรคที่เป็นสาเหตุ

การ approach แต่ละสาเหตุ

สาเหตุสำคัญ

1.เสียมาก อาเจียน ท้องเสีย ไข้ ร้อนเสียเหงื่อ

2.โรคไต หัวใจ ตับแข็ง

3.SIADH

พบน้อย

4.Adrenal insufficiency

5.Cerebral / renal salt wasting

A.SIADH หริอ SIAD [ปัสสาวะเข้ม - serum จาง]

เกิด ADH สูงผิดปกติ ดูดน้ำกลับมากจนเกิน เกิด dilutional effect

การวินิจฉัย มีภาวะ Hyponatremia ร่วมกับ

1. Urine osmolality สูง (>200 mOsm/kg)

2. Urine sodium สูง (UNa>30 mEq/L)

3. Serum osmolality ต่ำ (<275 mOsm/Kg)

สาเหตุ

-โรคสมอง อุบัติเหตุ ติดเชื้อ เนื่องอก

-โรคปอด เนื่องอก ติดเชื้อ ปอดเรื่อรัง

-มะเร็ง ปอด รังไข่ ต่อมน้ำเหลือง ต่อมไทมัส

-ยาหลายๆตัว NSAIDs, TCA, carbamazepine,diuretic , chlopropamide, SSRI etc.

-หลังการผ่าตัดต่างๆ

รักษาต้องจำกัดน้ำ

หาก Na<125 ให้ 3%NSS

Rate= (wt/2) cc/hr

ให้นาน = 2(125-Na) hr

เช่น Na120 น้ำหนัก 50 kg ให้ 3%NSS iv drip 25ml/hr 10 hr

B.Cerebral salt wasting [ปัสสาวะเข้ม จำนวนมาก – serum จาง]

เกิดจากสมอง sodium natridiuresis ทำให้ขับน้ำและเกลือแร่ออกไป

สาเหตุ อุบัติเหตุสมอง เนื้องอกสมอง hematoma

การวินิจฉัย ปัสสาวะออกมากกว่า 3L/day, UNa สูง(>20mmol/L), UOsm สูง>100 mOsm/kg

ร่วมกับ ขาดน้ำ หิวน้ำ มี dehydration

มักพบในสัปดาห์แรกหลังสมองบาดเจ็บ ดีขึ้นใน 2-4 สัปดาห์-หลายเดือน-ปี

รักษาให้ เสียน้ำทั้งเกลือให้ 0.9%NSS

C.Renal salt wasting เหมือนกับ Cerebral salt wasting แต่ไม่มีอาการทางสมอง

http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2637602/

http://www.nephrothai.org/appadmin/journal/media/nephrology_journal_Year18_No2_Apr-Jun55/25_Practical_Point.pdf

D.Adrenal insufficiency (ปัสสาวะเข้ม - serumจาง)

ต่อมหมวกไตทำงานไม่พอ ขาด aldosterone ดูด Na กลับไม่ได้

Primary AI เป็นทีต่อมหมวกไตเอง

Secondary AI เป็นที่ hypothalamus

ขาด glucocorticoid ทำให้ ADH สูงขึ้น, ขาด aldoseterone ทำให้ดูด Na กลับไม่ด้

การวินิจฉัย UNa สูง(>30mmol/L), UOsm สูง>100 mOsm/kg

Hypotonic hypoNatremia(true hyponat.)

ECF มาก CHF,Cirrhosis,RF ::::::::::::::::::::::::::::::::::::Uosm>100,UNa≤30

ECF น้อย vomiting, diarrhea, third spacing, diuretic::::::Uosm>100,UNa≤30

ECF ปกติ SIADH,2adrenal insuf, occult diuretics::::::::::Uosm>100,UNa>30

Ref.

http://www.mt.mahidol.ac.th/e-learning/bodyfluid%20and%20electrolyte/sodium.htm

http://www.ghp.co.th/th/knowledge_tips/index.php?ELEMENT_ID=131

http://library.ra.mahidol.ac.th/mr.chusak/Handout%20%E0%B8%9B%E0%B8%B54/Fluid%20&%20Electrolytes.pdf ER

http://www.nephrothai.org/appadmin/journal/media/nephrology_journal_Year18_No2_Apr-Jun55/25_Practical_Point.pdf RF

http://eje-online.org/content/170/3/G1.long#sec-88

https://sites.google.com/site/neurosun/epilepsy5