Syncope

Syncope

ภาวะเป็นลมหมดสติ หมายถึง spontaneous transient loss of consciousness[STLOC]

คือ อาการขาดความรู้สึกล้มลงเป็นระยะเวลาสั้นๆเพียงชั่วคราว

เป็น อาการในกลุ่มของ Transient loss of conscious :TLOC

ความสำคัญ

ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต และเสียชีวิตกะทันหัน ในผู้ป่วย syncope ขึ้นกับการที่ผู้ป่วยมีโรคหัวใจหรือไม่

สิ่งสำคัญคือ การตรวจหาโรคหัวใจ ในการประเมินและดูแลรักษาผู้ป่วย

Syncope : ต้องมีลักษณะดังนี้

1.หมดสติ –มีช่วงที่ไม่รู้สึกตัว

2.เป็นเองอย่างกะทันหัน –ไม่มีสาเหตุจากภายนอกมากระทำ เช่น head injury etc.

3.หายได้เองอย่างรวดเร็ว -

4.ไม่มีความผิดปกติใดๆหลังจากฟื้นตัว

5.โดยเกิดจาก การขาดเลือดไปเลี้ยงสมองชั่วคราว[global cerebral hypoperfusion]

สาเหตุของการหมดสติ [ loss of consciousness ]

แบ่ง 5 กลุ่ม

อาการอื่นที่คล้าย syncope

-ไม่หมดสติ : การล้ม เวียนศีรษะ อัมพฤต-อัมพาต อาการทางจิตเวช TIA etc.

-หมดสติ : ชัก เมา metabolic disorder TIA etc.

การวินิจฉัยโรค

ประวัติ: ที่สัมพันธุ์กับการเกิดเป็นลม

หมดสติจริงหรือไม่ มีช่วงเวลาที่ไม่รู้ตัว หรือแค่เวียนศีรษะ หน้ามืดธรรมดา

ตรวจร่างกาย :

BP ท่านั่งและนอน

EKG, echocardiogram

แบ่งกลุ่มตามที่พบบ่อย

1 Vagovagal syncope [Neurally-mediated]

-มีสิ่งกระตุ้นชัดเจน : ความกลัว เจ็บปวดรุนแรง อารมณ์ขึ้น นิ่งยืนนาน

-มีอาการทางระบบประสาท : ใจสั่น เหงื่อออก หน้าซีด คลื่นไส้ เพลีย เป็นลม ฟื้นสติดี

2 Situational syncope [Neurally-mediated]

-การกระทำชัด : เป็นหลัง กลืน ปัสสาวะ หรืออุจจาระ จามหรือไอ

3 Orthostatic syncope [Orthostatic hypotension]

-เปลี่ยนท่า : นอนนั่งเป็นยืน

-การวัดความดัน : วัดท่านอนราบแล้ว 5นาที แล้วยินวัดทุก 1 นาที 3 ครั้ง

วินิจฉัย หากSBP ลดมากกว่า 20mmHg หรือ SBP <90mmHg

4 CARdiac arrhythmia syncope : ประวัติครอบครัวไหลตาย?

-ดู EKG เต้นเร็ว หรือช้าไป

-2 degree AV block หรือ complete AV block

-alternative bundle branch block

หากไม่พบ แต่มีอาการชัด ส่งตรวจ

-Holter monitor บันทึก 24 ชั่วโมง ร่วมกับผู้ป่วยบันทึกอาการและเวลาที่มีอาการเอาไว้

-Event monitor เมื่อเกืดอาการให้นำเครื่องมาสัมผัสหน้าอกเพื่อบันทึก หากหมดสติจะใช้เองไม่ได้

-Continuous loop monitor บันทึกไปเรื่อยๆ ผู้ป่วยหรือญาติกระตุ้นเก็บบันทึกขณะมีอาการ

หากตรวจพบ รักษาโดยตรวจ electrophysiologic study ร่วมกับทำ catheter ablation

5 CARdiac ischemic syncope : ดูอาการร่วมกับEKG และตรวจเลือด

DDX อื่นๆ

Presyncope, near syncope อาการเหมือนจะหมดสติ แต่ยังมีสติตลอด

Psychogenic pseudosyncope อาการทางจิตเวช เหมือนจะเป็นลม มักมีอาการนานกว่ามาก

หมดสติ จริง เช่น Seizure, TIA, กินเหล้า, metabolic disorder etc

Ref.

http://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/Approach_to_Syncope_on_Electrophysiologist_perspective.pdf