Hyperthyroidism eti

Clinical presentation

เหนี่อยใจสั่น ตาโปน ระวังในผู้สูงอายุจะมีอาการน้อย

Etiology

1.Graves’ disease(Toxic diffuse goiter) : most common 60-80% ,autoimmune สร้าง antibody มีผลเหมือน TSH พบ infiltrative ophthalmopathy 50% ในผู้ป่วย Graves’ disease

2.Plummer disease(Toxic multinodular goiter) : พบ 5% ของ case แต่จะมากขึ้น 10 เท่า ใน iodine-deficiency area ลักษณะสำคัญคือ พบในผู้ป่วยอายุ มากกว่า 40 ปี ที่เป็น goiter มานาน และเป็น insidious onset มากกว่า Graves’ disease

3.Toxic adenoma : เป็น autonomous functioning nodule, พบในผู้ป่วยอายุน้อย และในแหล่งที่ขาดสารไอโอดีน

4.Thyroiditis : Subacute thyroiditis, Lymphocytic และ post partum thyroiditis

- Hashimoto's thyroiditis, also known as chronic lymphocytic thyroiditis and Hashimoto's disease

- Subacute thyroiditis : การเกิดอาการเป็นแบบ arupt onset จากการ leak ของฮอร์โมนจาก thyroid gland อาการจะดีขึ้นภายใน 8 เดือน

- Lymphocytic thyroiditis : เป็น transient inflamatory ในระยะ acute จะแยกยากจาก Graves’ disease

- Post partum(subacute lymphocytic) thyroiditis : อาจพบได้ 5-10% ในหญิงหลังคลอด มักเกิดใน 3-6 เดือนหลังคลอด และมักพบภาวะ hypothyroid ระยะสั้นๆก่อนที่อาการจะหาย

5.Treatment-induced hyperthyroidism

- Iodine-induced : จากการกินอาหารที่มี iodine มาก, contrast media และ medication จะเพิ่มการสังเคราะห์และหลั่งไทรอยด์ฮอร์โมนออกมา

- Amiodarone-induced(Cordarone) : พบได้ 12% ของผู้ป่วยที่ได้รับยานี้ โดยเฉพาะในกลุ่มที่อยู่ในแหล่งที่ขาดไอโอดีน เนื่องจากยามีไอโอดีนอยู่ 37%

- Thyroid hormone-induced เกิดจากการได้รับไทรอยด์ฮอร์โมนทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ

6.Tumor : พบได้น้อยจริงๆ เช่น metastatic thyroid cancer, ovarian tumors, trophoblastic tumors เป็นต้น

Ref.

1.Hyperthyroidism: Diagnosis and treatment: Am Fam Phy 2005:72:623-30