Vitamin A

Vitamine A

แหล่งอาหาร ตับ ไข่แดง นม ผลไม้สีเหลือง ผักสีเขียว

แบ่งได้ 2 กลุ่ม

1.Vitamine A หรือ Retinol อยู่ในเนื้อสัตว์ และน้ำมันตับปลา

2.Provitamine A หรือ Carotene อยู่ในผักสีต่างๆ ตำลึง ยอดชะอม คะน้า แครอท เป็นต้น

วิตามินเอ มี active form อยู่ทั้งหมด 3 ตัว

-Retinol

-Retinal (retinaldehyde)

-Retinoic acid กรดวิตามินเอ เป็น metabolite ของ retinol

ส่วนที่ได้มาจากพืชคือ Beta-carotene ซึ่งเป็น precursor molecule ในกลุ่ม carotenoids

หรือเรียกว่า provitamine A ร่างกายจะเปลี่ยนเป็น retinol ได้

ความต้องการ

เด็ก 400 IU. ผู้ชาย 1000 IU. ผู้หญิง 800 IU.

สาเหตุการขาด

1.ได้รับจากอาหารไม่เพียงพอ การเลี้ยงดูไม่ดี เช่น การกินนมข้นหวาน เป็นต้น

2.เป็นไข้หรือมีอาการท้องเสียเรื้อรัง หรือผู้ใหญ่ที่เป็นโรคตับ

การขาดวิตามินเอ

มีผลเกิดความผิดปกติหลายอย่าง ในด้านการมองเห็น การเจริญเติบโต และภูมิคุ้มกัน

1.Bone growth การเจริญเติบโตหยุดชะงัก

2.Visual : สายตา ระยะแรก จะเกิด night blindness ตามัวในเวลากลางคืน

มองเห็นยากในเวลากลางคืน ที่มืด

3.Epithelial tissue ต่างๆ เกิด keratinizing metaplasia

ที่ตา ทำให้เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาเป็นแผล ขาดรุนแรงตาบอดได้

-Conjunctiva : conjnctival xerosis , Bitot’s spot เกร็ดกระดี่ที่ตาขาว

-Cornea: Cloudy cornea ตาดำขุ่น , keratomalacia ตาดำบางขุ่น อ่อนตัว, cornea ulcer เป็นแผลขุ่น มีแผลเป็น และตาบอดถาวรได้

ที่ผิวหนัง ขาดความชุ่มชื้น หยาบกร้าน แห้งแตก โดยเฉพาะผิวที่ข้อศอก ตาตุ่ม ข้อต่อต่างๆ เป็นโรคผิวหนัง สิวและโรคติดเชื้อผิวหนังได้

-Dry scaly skin แห้งเป็นเกร็ด

-Follicular hyperkeratosis ผิวสากเป็นตุ่มเล็กๆ เป็นหนามๆ ที่รูขุมขนถูก keratin อุดตัน และผิวแห้ง มักเป็นที่ก้น ศอก เข่า หากเป็นมาก ผิวหนังขรุขระมาก จะเรียกกว่า Toad skin หนังคางคก หรือ คล้ายกระดาษทราย ผิวที่แห้งมาก ketatin ที่มากทำให้หนังแห้งหยาบเป็นเกร็ดคล้ายปลาเรียก ichthyosis

ที่เยื่อบุต่างๆ แห้ง ความต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย

ทางเดินหายใจ : เกิดการอักเสบซ้ำซากของ ช่องจมูก โพรงจมูก คอเจ็บ หูอักเสบ เป็นฝี ไข้หวัด ปอดบวม หลอดลมอักเสบ

ทางเดินอาหาร: เกิดการอักเสบ ในปาก คอ ต่อมน้ำลาย เป็นๆหายๆ ท้องร่วง

ทางเดินปัสสาวะ: ติดเชื้อได้ง่าย

โรคขาดวิตามินเอที่สำคัญ

Xerophthalmia เกิด keratinizing metaplasia ของเยื่อบุตา และ ต่อมน้ำตา

Night-Blindness ตาบอดแสง มองเห็นลำบากในที่แสงน้อย หรือที่มืด เป็นอาการแรกสุด

จะต้องใช้เวลานานในการมองเห็นในที่มืด: dark adaptation test

ระยะที่ 1 Conjunctival xerosis เยื่อบุตาขาว แห้งเป็นจุดขุ่นๆ ไม่ชุ่มชื้น ไม่มีแผ่นเยื่อน้ำตาบางๆเคลือบไว้ เห็นชัดที่ตาขาวใหลตาดำ

ระยะที่ 2.Bitot’s spot เกร็ดกระดี่ ลักษณะเป็น greasy หรือ foamy แผ่นฟองมันๆนูน ที่ตาขาวด้านข้างกระจกตา เกิดจากการสะสมของ epithelial cell ที่ลอกหลุด

ระยะที่ 3.Corneal xerosis กระจกตาหรือตาดำแห้ง แผ่นฝ้าขาวเกาะที่กระจกตา หนาตัวและขุ่นมัว ต่อไปมีลักษณะขุ่นขาวเทา และกลายเป็น xerophthalmia ตาบอดได้

ระยะที่ 4.Kerotomalacia กระจกตาขุ่นมัวอ่อนตัว, เกิด corneal erosion, corneal ulceration เป็นแผลติดเชื้อ ทะลุ เลนส์หลุด ตาบอดได้

การวินิจฉัยภาวะขาดวิตามินเอเบื้องต้น

1.Dark adaptation screening test: ในเด็กอาจให้ลองหยิบขนมในที่มืด

2.Dye test ใช้ lissamine green 1% หยอดตา

Ref.

http://www.inmu.mahidol.ac.th/gallery/nutrition/images/1.3.jpg

http://www.inmu.mahidol.ac.th/gallery/nutrition/01.3A/

http://advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf

Hypervitaminosis A

การได้รับเกินขนาด

พิษเฉียบพลัน

ได้รับ vitamin A มากกว่า 1,000,000 IU

อาการ ปวดศีรษะรุนแรง ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ผิวหนังลอก

พิษเริ้อรัง

ผู้ใหญ่จะเกิดอันตราย: ได้รับเกิน 50,000 IU ต่อเนื่องหลายเดือน

ผู้ใหญ่จะเกิดอันตรายต่อลูกในครรภ์: หากกินเกิน 18,500 IU ต่อเนื่องทุกวัน

กิน Betacarotine มากกว่า 34,000 IU ต่อเนื่องกันทุกวัน ผิวเหลืองได้

อาการ

1.Teratogenic effect

แท้งลูก หรือ พิการ ทำให้เกิดความผิดปกติระบบทางเดินปัสสาวะ กระดูกผิดรูป ติ่งปูดที่บริเวณหู

2.Keratolytic effect

ผิวหนังบาง มุมปากอักเสบ เยื่อบุตาจมูกปากแห้ง ผมบางร่วง

3.Hepatotoxic effect

ตับโตบวมอักเสบ AST ALT สูง

4.อาการอื่นๆ

-ปวดกระดูก ข้อต่อ

-ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร เชื่องซึม นอนไม่หลับ กระวนกระวาย

-ท้องผูก-ท้องเสีย ผิวลอก ตามัว ผื่น ประจำเดือนมาไม่ปกติได้

โรคขาดวิตามินเอที่สำคัญ

Xerophthalmia เกิด keratinizing metaplasia ของเยื่อบุตา และ ต่อมน้ำตา

Night-Blindness ตาบอดแสง มองเห็นลำบากในที่แสงน้อย หรือที่มืด เป็นอาการแรกสุด

จะต้องใช้เวลานานในการมองเห็นในที่มืด: dark adaptation test

ระยะที่ 1 Conjunctival xerosis เยื่อบุตาขาว แห้งเป็นจุดขุ่นๆ ไม่ชุ่มชื้น ไม่มีแผ่นเยื่อน้ำตาบางๆเคลือบไว้ เห็นชัดที่ตาขาวใหลตาดำ

ระยะที่ 2.Bitot’s spot เกร็ดกระดี่ ลักษณะเป็น greasy หรือ foamy แผ่นฟองมันๆนูน ที่ตาขาวด้านข้างกระจกตา เกิดจากการสะสมของ epithelial cell ที่ลอกหลุด

ระยะที่ 3.Corneal xerosis กระจกตาหรือตาดำแห้ง แผ่นฝ้าขาวเกาะที่กระจกตา หนาตัวและขุ่นมัว ต่อไปมีลักษณะขุ่นขาวเทา และกลายเป็น xerophthalmia ตาบอดได้

ระยะที่ 4.Kerotomalacia กระจกตาขุ่นมัวอ่อนตัว, เกิด corneal erosion, corneal ulceration เป็นแผลติดเชื้อ ทะลุ เลนส์หลุด ตาบอดได้

การวินิจฉัยภาวะขาดวิตามินเอเบื้องต้น

1.Dark adaptation screening test: ในเด็กอาจให้ลองหยิบขนมในที่มืด

2.Dye test ใช้ lissamine green 1% หยอดตา

Ref.

http://www.inmu.mahidol.ac.th/gallery/nutrition/images/1.3.jpg

http://www.inmu.mahidol.ac.th/gallery/nutrition/01.3A/

http://advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf