Rapid growing mycobacteria

Rapidly growing mycobacteria

M. chelonae, M.abscessus และ M. fortuitum ไม่ไวต่อยาต้านวัณโรค

ยาที่ใช้รักษาจะต้องประกอบด้วยยา clarithromycin หรือ azithromycin ร่วมกับยาอื่นๆ ที่ไวต่อเชื้ออีก 1 ขนาน ซึ่งอาจจะเป็น amikacin, ofloxacin, ciprofloxacin, cotrimoxazole, doxycyclin, cefoxitin หรือ imipenem

Rapid growing mycobacterium(RGM)

อยู่ในกลุ่ม 4 ของ ตาม Runyon classification 1959 ของ nontuberculous mycobactrium(NTM)

โดย Ernest Runyon จะเพาะขึ้นเชื้อประมาณ 7 วัน

Mycobacterium : มีมากกว่า 100 species

เก่าสุดพบบ่อยสุดคือ Mycobacterium tuberculosis

ติดเชื้อในกระแสเลือดพบบ่อยในผู้ป่วย HIV คือ Mycobacterium avium

*ทุกสปีชีส์ ย้อมติดสี AFB และทำให้เกิด granulomatous tissue reaction ได้ *

ความสำคัญ การติดเชื้อในกลุ่มนี้สามารถพบได้ปะปราย โดยเฉพาะกลุ่มที่มีการอักเสบเรื้อรังหรือมีหนอง ทั้งติดจากนอกและในโรงพยาบาล รวมถึงเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมต่างๆในร่างกาย ควรต้องส่งตรวจเพาะเชื้อกลุ่มนี้ด้วย

ปัญหา

1.การวินิจฉัยที่แน่นอนต้องส่งเพาะเชื้อ

2.การให้การรักษาโดยไม่แน่ใจหรือไม่ทราบว่าเป็นเชื้อเหล่านี้หรือทำให้เสียเวลา เงิน หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาได้ โดยเฉพาะกรณีต่อมน้ำเหลืองอักเสบ โรคปอดอักเสบ หรือ ติดเชื้อผิวหนังอักเสบเรื้อรังทั้งหลาย

3.การตรวจชิ้นเนื้อพบเป็น granulomatous infection ไม่ได้แปลว่าเป็น Mycobacterium tuberculosis เสมอไปต้องหาเชื้อให้พบหรือส่งเพาะเชื้อสำหรับ mycobacteria

*ประโยชน์ที่ได้จากการส่งเพาะเชื้อในกลุ่มวัณโรค เลี่ยงการเสียเวลาในการรักษาวัณโรคโดยไม่ทราบการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ถ้าไม่ได้ส่งเพาะเชื้อ*

แหล่งที่พบ

ฝุ่น ดิน แหล่งน้ำธรรมชาติ น้ำประปา น้ำเน่าตามบ่อแอ่งต่างๆ สามารถอยู่ในเยื่อเมือกระบบทางเดินหายใจโดยไม่ก่อโรคได้

การก่อโรค

มีได้หลากหลายมาก ตั้งแต่เฉพาะที่จนกระจายไปทั่ว เกิดได้จากในโรงพยาบาลและจากสิ่งแวดล้อมทั่วๆไป

โรคที่พบเช่น Abscess ฝีในชั้นใต้ผิวหนัง กระดูกและข้ออักเสบ ติดเชื้อใน soft tissue, ติดเชื้อในเลือด, ต่อมน้ำเหลือง

หรือแบบกระจายทั่วร่างกายได้ บางรายเสียชีวิต บางรายหายได้เอง บางรายพิการ

กลุ่มเสี่ยง

ผูที่มีภูมิคุมกันต่ำ, ผูสูงอายุ, ผูมีโรคประจําตัว เชน มะเร็งเม็ดเลือดขาว AIDS, ไดรับ immunosuppressive,

ไดรับการฉีดยาชา หรือสเตียรอยด, หลังผาตัด, มีการสัมผัสแหลงของเชื้อ, มีแผลถูกของแหลมทิ่มตํา, มีแผลถลอก, แผลจากอุบัติเหตุในทองถนน และการบาดเจ็บอื่น ๆ เชน จากตะปูหรือลวด ผูที่มีความผิดปกติของยีนสที่เกี่ยวของกับระบบภูมิคุมกัน ภาวะทุโภชนาการ

ระยะฟักตัว การติดเชื้ออาจเกิดขึ้นภายหลังการเกิดบาดแผล 4-6 สัปดาห หรือนานถึง 10 ปี

ความชุก

สถาบันโรคผิวหนัง

พบ 6.5% ของสิ่งส่งตรวจที่เพาะบน Lowenstein Jensen medium

เกิดจากการสัก : Mycobacterium chelonae

KCMH report : เชื้อที่พบ M. chelonae/abscessus 50%, M. fortuitum 30%, M. smegmatis 0.89%, ไม่สามารถระบุสปีชีย์ได้16.1%

ส่วนใหญ่พบเป็น localized infection 65%

RGM

แบ่งเป็น 3 กลุ่ม

1.Mycobacterium fortuitum group

2. M. chelonae/abscessus group

3. M. smegmatis group

ตัวอย่างโรคที่พบ

Chronic pulmonary infection. Peritoneal infection, colonic infection, chronic skin infection, chronic keratitis, chronic lymphadenitis etc.

ยาที่ใช้รักษา

M.fortuitum : amikacin, ciprofloxacin, clarithromycin, imipenam. Sulfamethoxazole

M. chelonae: amikacin, ciprofloxacin, clarithromycin, imipenam. Sulfamethoxazole

Ref.

1.http://ajcp.ascpjournals.org/content/128/4/612.full.pdf

2.file:///C:/Documents%20and%20Settings/BPK9/My%20Documents/Downloads/2575-Rapidly%20Growing%20Mycobacteria%20in%20King%20Chulalongkorn%20Memorial%20Hospital%20and%20Review%20of%20the%20Literature%20in%20Thailand.pdf

อื่นๆ

http://www.doctor.or.th/clinic/detail/8187

http://www.manager.co.th/china/viewnews.aspx?NewsID=9550000125039&TabID=2&

http://www.med.cmu.ac.th/dept/microb/schedule%202553/311351/mycobacterium%20and%20mycoplasma.pdf

http://www.cueid.org/component/option,com_docman/task,cat_view/gid,81/Itemid,42/?mosmsg=You+are+trying+to+access+from+a+non-authorized+domain.+%28www.google.co.th%29

NTMhttp://www.thaiscience.info/journals/Article/Nontuberculous%20mycobacterial%20infections%20in%20king%20chulalongkorn%20memorial%20hospital.pdf

http://emedicine.medscape.com/article/1105570-clinical#showall

http://emedicine.medscape.com/article/972708-overview#showall

TB http://www.vichaiyut.co.th/html/jul/36-2550/p42-45.asp

NTM PED

http://www.thaipediatrics.org/detail_journal.php?journal_id=348

pitfall TB

http://www.rcpt.org/rcpt/media/news_file/193-Pitfalls_in_TB-20111117172241.pdf

NTB wiki http://en.wikipedia.org/wiki/Nontuberculous_mycobacteria

myco abscess pul http://cid.oxfordjournals.org/content/52/5/565.long

myco human

http://www.healthcarethai.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%99/

rapid growing mycobacteria

http://ajcp.ascpjournals.org/content/128/4/612.full.pdf

rapid growth prevalenne derm instihttp://inderm.go.th/nuke_802/modules/Forums/files/re91_rapid_growing_mycobacteria_497.pdf

http://www.idthai.org/asktheexpert/qa2006.php?ids=5 LN

mycobact mycoplasma

http://www.med.cmu.ac.th/dept/microb/schedule%202553/311351/mycobacterium%20and%20mycoplasma.pdf