DKA

DKA: diabetic ketoacidosis

Link : DKA diagnosis

มีประวัติเบาหวาน หายใจหอบลึก(Kussmual respiration)

DKA diagnostic criteria:

TRIAD : hyperglycemia, ketonemia และ metabolic acidosis

1.Hyperglycemia : Blood glucose>250mg/dl

2.Metabolic Acidosis : Anion gap กว้าง( SerumHCO3<15,aPH<7.3)

2.1 Arterial pH<7.3

2.2 Bicarbonate < 15mEq/L

(สูตรคำนวณ anion gap = (Na+ ) - (HCO3 - + Cl- ) ซึ่ง anion gap กว้างคือ anion gap > 12)

3.Moderate ketonuria or ketonemia

Precipitating cause

ดู infection : CBC,Hemoculture, UA, CXR

การรักษา

1.การให้น้ำและเกลือแร่

ชั่วโมงแรก ให้ 0.9%NSS 1000 ml

ชั่วโมงที่ 2 ให้ 0.9%NSS 500-1000 ml

ชั่วโมงที่ 3 ให้ 0.9%NSS 500 ml

ชั่วโมงที่ 4 ให้ 0.9%NSS 250 ml

ถ้า Na สูงกว่า 150mEq/L ให้เป็น 0.45%NSS แทน

ยกเว้นหาก shock ก็ต้องแก้ก่อนให้ NSS

ผู้สูงอายุอาจต้องใช้ CVP ช่วยปรับการให้ NSS

เมื่อน่ำตาลในเลือด <250-300mg/dl เปลี่ยนให้ 5%DNSS/2 80-100 ml/hr ได้

2.การให้ Potassium

ควรให้ตั้งแต่ชั่วโมงแรก ยกเว้น ปัสสาวะไม่ออก หรือ K>5mEq/L และตรวจดู K ทุก 1-2 ชั่วโมง

K < 3 mEq/L ให้ KCl 20-30mEq/hr กรณีนี้ต้องรีบให้อย่างเร่งด่วน ก่อนให้ insulin

K = 3-4 mEq/L ให้ KCl 10mEq/hr

K =4-5 mEq/L ให้ KCl 5 mEq/hr

3.การให้ insulin

Stat regular insulin 10 unit iv ทันทีที่วินิจฉัย

Dose 0.1 unit/kg

ตามด้วย Insulin 5-10 unit/hr

(ผสม ใน NSS 1 unit:1ml = RI 100 u in 0.9%NSS 100ml)

Dose 0.1 unit/kg/hr

[Qx Rx:

RI 10 unit iv stat

then 0.9%NSS100ml+RI 100u iv drip 5 unit /hr]

[standard ผสม NSS100ml+RI 100u]

[RI=Actapid HM,Insugen R 100unit/ml/vial10ml]

*กรณีไม่มี infusion pump

ให้ RI 10unit iv ,10 unit im ทันทีที่วินิจฉัย ตามด้วย

RI 10 unit im q 1 hr

ถ้าระดับน้ำตาลไม่ลงหลังรักษาแล้ว 2 ชั่วโมง ให้เพิ่ม insulin อีกเท่าตัวได้ ทุก 2 ชั่วโมง

การปรับ insulin ดูระดับน้ำตาล

BS ≤ 250mg/dl = RI 6-10 uni sc q 4-6 hr = infusion rate 2-4 unit/hr

พร้อมกับเปลี่ยน IV เป็น 5%DSS หรือ 5%DN/2 150ml/hr ขึ้นกับระดับ serum Na

ข้อสังเกต หาก BS<250mg/dl มักจะควบคุมภาวะ ketosis ได้ metabolic acidosis มักจะหายไป

ในภาวะ ketoacidosis ที่ระดับน้ำตาลน้อยกว่า 250 mg/dl

สาเหตุ มักเกิดในภาวะตั้งครรภ์ โรคตับ หรือ malnutrition

โดยดูจากค่า serum bicarb <12mEl/L, a.PH<7.2

การรักษา ต้องให้ RI เพื่อควบคุมภาวะ ketoacedosis ในขนาดที่สูงพอ

ต้องให้ RI iv drip 6-10 unit/hr หรือ 10 u im q hr และ 10%DNSS แทน 5%DNSS จน ภาวะ Ketoacidosis ดีขึ้น

4.การให้ Bicarbonate จะให้เมื่อ apH<7.0 หรือ shock ด้วย หรือ มี lactic acedosis ร่วมด้วย

7.5%NaHCO3 50 ml ผสมใน iv fluid drip 30 min

5.การติดตาม

BS q 1hr, Electrolyte q1 hr, Urine q 1hr

Ref.

http://www.thaipediatrics.org/html/download/Diabetic_Ketoacidosis_28_09_20101.pdf

http://www.mecutd.net/doc/academic/CPG%20Diabetic%20Ketoacidosis.pdf

http://www.medkorat.in.th/admin/ckfinder/userfiles/files/Final_IPD%20DM%20version%202012.pdf

https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=6&cad=rja&uact=8&ved=0CEcQFjAF&url=http%3A%2F%2Fwww.pth.go.th%2Fnews_km%2FDiabetic%2520ketoacidosis%2520tan(%25E0%25B8%259E.%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B5).ppt&ei=Gr0nU9WFCsKLrQf7yIC4CA&usg=AFQjCNHXokyMb2Vi9z71ZvLICaEQ7F3Jhg&bvm=bv.62922401,d.bmk

http://www.errama.com/system/spaw2/uploads/files/DKA_ploy%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3.pdf

http://202.28.95.51/alumni/article/Clinical_Departments/Department_of_Medicine_04/chaichan.pdf

http://www.medicthai.net/admin/news_detail.php?id=3596

บทความวิชาการขอนแก่น

http://202.28.95.51/alumni/index.php?module=dir.php

ชนิด insulin

http://pharm.kku.ac.th/thaiv/depart/clinic/DispensingPharmacy/endocrine/insulin.htm

การบริหารยา RI

http://www.med.cmu.ac.th/hospital/dis/2011/index.php?option=com_content&view=article&id=17:insulinrhad&catid=6:high-alert-drug&Itemid=4

http://www.errama.com/system/spaw2/uploads/files/Diabetic%20ketoacidosis.pdf