Sick sinus syndrome

Sick sinus syndrome (SSS)

SA node ป่วยไม่ทำงาน

p wave หาย มีแต่ AV node กระตุ้นแทน จึงเห็นแต่ QRS มาแบบช้าๆ

DDX.

Sinus bradycardia : มี p ตามด้วย qrs แต่ rate ช้า

Sinus arrest : มี p ตามด้วย qrs อยู่ดีก็หายไปทั้ง p และ qrs

Sinoatrial exit block : pp interval สั้นลงๆ จนหายไป sinus pauses

Brady-tachycardia syndrome : p wave เต้นช้าเร็วสลับกัน ทำให้ qrs ไม่สม่ำเสมอ หรือหายไป

AV block(1,2,3) : EKG Bundle branch block

ชื่ออื่น Bradycardia-tachycardia syndrome; Sinus node dysfunction

คำนิยาม หมายถึง ความผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ ที่เกิดจาก sinus node dysfunction

มีได้หลายรูปแบบ

ซึ่งประกอบด้วย:

1.แบบช้า Sinus bradycardia หัวใจเต้นช้าไม่มีเต้นเร็วร่วม

2.แบบเร็ว Tachycardias หัวใจเต้นเร็ว

3.แบบสลับ Tachy-brady SSS มีการเต้นของหัวใจช้ารวมกับหัวใจเต้นเร็ว สลับกันได้

กลุ่มอาการของ Sick-sinus syndrome เกิดได้ไม่บ่อยนัก

ที่พบมากได้มากกว่าการเต้นแบบอื่น คือ Sinus bradycardia

รองลงมา ได้แก่ การเต้นแบบ atrial fibrillation, atrial flutter/ tachycardia และ SVT

โดยทั่วไป เราจะพบว่า...

ทุกครั้งที่มีการสิ้นสุดการการเต้นผิดปกติแบบเร็ว (tachycardia)

มักจะตามด้วยการเต้นของหัวใจช้าลง

สาเหตุ อุบัติการณ์ และปัจจัยเสี่ยง:

ที่ตัว sinus

Degenerative fibrosis,scaring ,damage

Ion channel abnormal

Sinoatrial node มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง

โรคที่พบร่วม/เป็นสาเหตุร่วม

เช่น จากการผ่าตัด เสือมตามอายุ coronary artery disease, โรคความดันโลหิตสูง

และโรคลิ้นหัวใจ ( aortic & mitral valve disease)

อาจเกิดมี sick sinus syndrome

ปัจจัยภายนอก

ยา การเผาผลาญอาหาร ระบบCNS hypothyroidism เป็นต้น

จากยาเช่น digitalis, calcium channel blockers, beta-blocker

และ ยาต้านการเต้นผิดปกติเอง (anti-arrhythmics)

การดำเนินโรค

อาการจะทรงๆ ไปเรื่อยๆ เต้นช้าบ้างเร็วบ้างขึ้นกับในแต่ละราย

Symptoms:

โดยทั่วไปคนที่มีการเต้นของหัวใจผิดปกติแบบ sick sinus syndrome

จะไม่ค่อยมีอาการอะไร หรือ มีอาการเลียนแบบอาการของโรคอื่น ๆ ได้ เช่น

เจ็บหน้าอก (chest pain or angina

มีอาการสับสน หรือ มีพฤติกรรมเปลี่ยน (confusion & changes in mental status)

เป็นลมหมดสติ หรือเกือบจะเป็นลม (fainting) เมื่อยล้า (fatigue)

วิงเวียน (dizziness) ใจสั่น (palpitation) หายใจไม่อิ่ม หรือหายใจไม่ทั่วท้อง (shortness of breath)

Signs and tests:

-การเต้นของหัวใจอาจเต้นช้ามาก ๆ ซึ่งอาจะเกิดเมื่อใดก็ได้

ความดันโลหิตอาจอยู่ในระดับปกติ หรือต่ำก็ได้

-คนไข้ดังกล่าวอาจมีอาการของคนไข้เป็นโรคหัวใจล้มเหลว หรือมีอาการเลวลง

การวินิจฉัย

จะกระทำได้เมื่อหัวใจเกิดมีการเต้นผิดปกติ

(arrhythmia) เท่านั้น

ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะยืนยัน (วินิจฉัย) ได้ว่าเขาเป็นโรค SSS

ในการตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นหัวใจ (EKG) อาจพบความผิดปกติของ

การเต้นของหัวใจ (abnormal heart rhythms)

การวินิจฉัยเป็นสิ่งที่ท้าทาย ต้องติดตามคลื่นหัวใจต่อเนื่อง

OPD : Holter monitoring

IPD: telemetry monitoring

ซึ่งเป็นเครื่องมือที่นำไปตรวจคลื่นหัวใจ ด้วยการติดไว้กับตัวไข้ตลอด 24 ชม

หรือนานกว่านั้น โดยเครื่องมือสามารถตรวจพบภาวะที่ผิดปกติของการเต้นได้

สำหรับการตรวจ exercise testing จะไม่มีประโยชน์ต่อการตรวจคัด

กรองสำหรับคนไข้ดังกล่าวเลย...ไม่จำเป็นต้องทำ

การรักษาด้วยการใส่ place maker

ถามว่า

1.ทำแล้วชีวิตยืนยาวขึ้นหรือไม่

2.ทำแล้วคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม่

สำหรับโรค SSS

ไม่มีหลักฐานว่าใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแล้วจะทำให้ชีวิตยืนยาวขึ้น คือ ไม่ได้ลดอัตราการเสียชีวิต

แต่ช่วยลดอาการผิดปกติ ทำให้คุณภาพชัวิตดีขึ้นในกรณีที่มีอาการมาก เช่น วูบเป็นลมหมดสติ เป็นต้น

Complications:

คนเป็นโรค sick sinus syndrome อาจลงเอยด้วยภาวะแทรกซ้อน ได้ดังนี้:

เจ็บหน้าอก (angina)

สมรรถภาพการออกกำลังกายลดลง

หกล้มได้บ่อยจากอาการวิงเวียน

หัวใจล้มเหลว

Prognosis

อัตราตายต่ำมาก 2% ต่อปี และที่เสียชีวืตมาจากสาเหตุอื่น เช่น MI เป็นต้น

REF.ที่มา

http://vatchainan2.blogspot.com/2012/11/sick-sinus-syndrome-symptom-2.html

http://visitdrsant.blogspot.com/2014/04/sss.html

http://www.phimaimedicine.org/2013/05/2316-sick-sinus-syndrome.html

http://www.aafp.org/afp/2013/0515/p691.html

Treatment:

ในคนไข้ที่มี Sick sinus syndrome

อาจไม่จำเป็นต้องรักษาถ้าไม่มีอาการใด ๆ

แต่แพทย์เขาอาจตรวจสอบประวัติการใช้ยาของคนไข้ว่า มียาอะไรที่คนไข้รับประทาน

ซึ่งสามารถทำให้อาการเลวลงได้

ในกรณีที่คนไข้มีการเต้นของหัวใจช้ามาก (very slow heart rate)…

อาจได้รับการรักษาด้วยการใส่ permanent implanted pacemaker

ในกรณีที่หัวใจเต้นเร็ว (tachycardia)…

คนไข้อาจได้รับการรักษาด้วยยา (medications)และบางครั้ง

เรามีวิธีการหนึ่งซึ่งสามารถรักษาภาวการณ์เต้นหัวใจ

ชนิดเต้นเร็วแบบ tachycardia ด้วยการทำทำลายปุ่มกำเนินคลื่นกระแสไฟฟ้า

ด้วยคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูง ( raiofrequency ablation)

สำหรับในรายที่ได้ใส่เครื่องกระตุ้นการเต้นของหัวใจแบบถาวร

Prevention:

แพทย์อาจช่วยรักษาโรคที่สัมพันธ์กับภาวะ ของ SSS ได้

โดยคนไข้อาจจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ยาบางอย่างด้วยความเห็นชอบจากแพทย์

แต่อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งเราไม่สามารถป้องกันมันได้เลย