Facioscapulohumerus M D

Facioscapulohumeral muscular dystrophy (FSHD)

QxDx: muscle weakness(facial&shoulder) อายุ 20+- ปี

..........PE:scapular wing Lab:CPK สูง

เป็นโรคกล้ามเนื้อทางกรรมพันธุ์ที่พบบ่อยที่สุด(ผู้ใหญ่)(USA พบเป็นอันดับ3) แต่ก็พบน้อยในประชากรทั่วไป

Prevalence

ทั่วโลก ประมาณ1:20,000 ราย

ข้อมูลจากสถาบัน INSERM พบ FSHMD 7:100,000 คน ส่วน Duchenne and Becker =5/100,000 คน

เป็นได้ทั้งชายและหญิง ทุกอายุและสัญชาติ

เพศ พบในชาย>หญิง ในหญิงพบแบบไม่มีอาการได้บ่อยกว่าชาย

อายุ เริ่มแสดงอาการประมาณ 10-20 ปี ส่วนใหญ่ 90% มีอาการก่อนอายุ 20 ปี ในช่วง infant onset พบได้แต่น้อยมากๆ และ ประมาณ 1/3 ของผู้ที่มียีน FSHD จะไม่มีอาการ

สาเหตุ

autosomal dominant 95% ของผู้ป่วยจะเกิด การ deletion ของ D4Z4 repeats บน 4q35 chromosome(FSHMD1A(4q35 deletion))

อาการและอาการแสดง

มักเริ่มเป็นในเด็กโตหรือวัยรุ่น จะเป็นอาการชัดที่อายุประมาณ 20 ปี อาการเริ่มต้นที่กล้ามเนื้อลาย ที่ face, scapular, upper arm(humerus) และ จะเป็นในกล้ามเนื้อส่วนอื่นของร่างกายตามมา บางรายอาจอ่อนแรงไม่เท่ากันทั้งสองข้าง

Facial muscle

Involve: orbicularis oculi, orbicularis oris, zygomatic muscle

Spare: extraocular, pharyngeal muscle

อาการ: หนังตาตก ผิวปากไม่ได้ ใช้หลอดดูดน้ำลำบาก หน้าเฉยการแสดงออกทางสีหน้าน้อยลง ดูคล้ายหน้าบึ้งหรือดูโกรธ ออกเสียง M,B,P ลำบาก

Shoulder and humerus muscle

Involve: scapular fixation, biceps, triceps

Spare: deltoid

อาการ: ยกแขนลำบาก, ไหล่ตก, เหยียดแขนไปด้านหน้าหรือกางแขนกระดูกสะบักจะยื่นออกด้านหลังคล้างปีก {wing scapular) หวีผมลำบาก

Trancal muscle

Involve: lower abdominal muscle>upper

อาการ: Beevor sign คือสะดือเคลื่อนขึ้นบนขณะ ก้มคอหรือเกร็งท้องลุกนั่ง

Leg muscle

Involve: tibialis anterior

Spare: posterior muscle, pelvic girdle

อาการ: foot drop gait(พบ50%) กล้ามเนื้อต้นขาลีบอ่อนแรง

Stomach: กล้ามเนื้อการบีบตัวอาจน้อยลง

อาการอื่นๆที่ไม่เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ

sensorineural hearing loss(75%)

retinal telangiectasia(60%)

atrial arrhythmias(5%)

อื่นๆ mental retardation, seizure, sleep disorder breathing, obstructive sleep dyspnea

Investigation

-Serum creatine kinase(CK/CPK เรียกได้ 2 แบบ) สูงมาก(ปกติ 10 - 120mcg/L)

CK มี 2แบบ CK-MM,CK-MB

กล้ามเนื้อลายมีCK-MMสูง, CK-MB แค่ 1% แต่ในหัวใจมีCK-MBสูง10-20%

-Alkaline phosphatase สูง ขึ้นจากการทำลายของกล้ามเนื้อ

-electrolyte,TSH เพื่อหาสาเหตุอื่นๆ

Confirm test: ตรวจ DNA หา deletion ของ 4q35 chromosome

อื่นๆ muscle biopsy(จะทำเมื่อ chromosome ปกติ), Electromyography

DDx:

AML(amyotrophic lateral sclerosis)

Dermatomyositis/polyomyositis

Limb-Girdle muscular dystrophy, Emery-Dreifuss muscular dystrophy

Endocrine myositis, diabetic neuropathy

Congenital muscular dystrophy/myopathies

Chronic inflammatory demyelinating polyradiculoneuropathy

Inherited metabolic disorders

การรักษา

ยังไม่มียาหรืออาหารใดรักษาได้

การทำกายภาพบำบัด หรือการใช้กายอุปกรณ์ มีส่วนช่วยในการทำงานของกล้ามเนื้อและการใช้ชีวิตประจำวันสะดวกขึ้นได้ เช่น ankle foot orthosis(กรณี foot drop), knee nakle foot orthosis(กรณี knee extension weakness) เป็นต้น การออกกำลังพอควรไม่ทำให้เกิดการทำลายกล้ามเนื้อมากขึ้น

การใช้ Steroid ก็ไม่ได้ผล หรือ การให้folic, myostatin inhibition, methionine ก็ไม่ได้ผล

มีบางรายงาน แสดงถึงการใช้ salbutamal(ventolin,albuterol) สามารถช่วยเพื่ม muscle mass แต่มีการศึกษาเพิ่มเติมอีกหลายแห่ง สรุปว่ายังไม่ได้ผล และยังไม่แนะนำให้ใช้รักษา

การผ่าตัด scapulothoracic arthrodesis อาจใช้ช่วยให้ กางแขนได้ดีขึ้นกรณีที่ผู้ป่วยยังมี deltoid ปกติ

Prognosis

อายุขัยปกติ แต่ผู้ป่วยประมาณ 15% เกิดความพิการรุนแรงจนต้องใช้รถเข็น

Respiratory impairment พบน้อยกว่า 10 %

Prognosis ขึ้นกับความยาวของยีน(Eco Rl fragment)และการเหลืออยู่ของ Kpn l unit

Ref.

  1. 3.http://topicstock.pantip.com/lumpini/topicstock/2010/07/L9466003/L9466003.html

    1. 4. http://www.fshdglobal.org/

    2. 5. http://www.medtechzone.com/data/chem/CK.php