Laxative

ยาถ่าย / ยาระบาย - Laxatives/Cathartics

ข้อบ่งใช้

เป็นยาที่ช่วยให้ถ่ายท้อง หรืออุจจาระนุ่ม สำหรับแก้อาการท้องผูก มีอยู่หลายชนิด ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 พวก

ใหญ่ ๆ ดังนี้

1.ยาที่กระตุ้นลำไส้ใหญ่ให้บีบตัว เช่น น้ำมันละหุ่ง , เซนนา , ไบซาโคดิล (ยาดำและสลอดก็จัดเป็นยาถ่ายในกลุ่มนี้)

2.ยาที่เพิ่มปริมาณน้ำในลำไส้ เช่น กลุ่มเกลือแมกนีเซียม

3.ยาที่หล่อลื่นลำไส้ เช่น อีแอลพี

4.สารเพิ่มกากใย

ยาถ่าย/ยาระบายเป็นเพียงยาบรรเทาอาการ ควรหาสาเหตุของอาการท้องผูก และหาทางแก้ไขป้องกัน ไม่ควรใช้

เป็นประจำ อาจมีผลข้างเคียงและติดเป็นนิสัยได้

ข้อห้ามในการใช้ระบายทุกชนิด

1. ผู้ป่วยที่ปวดท้องรุนแรง หรือคลื่นไส้ อาเจียน

2. มีการอักเสบช่องท้องหรือกระเพาะลำไส้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ, ไทฟอยด์, ลำไส้อักเสบ เป็นต้น

3. ลำไส้อุดตัน ทะลุ หรือมีเลือดออก

4. ผู้ป่วยที่อ่อนเพลียมาก ๆ

ห้ามใช้ยาระบายในผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้องรุนแรง หรือมีอาการอักเสบในช่องท้อง

น้ำมันละหุ่ง - Caster Oils

ข้อบ่งใช้

มีฤทธิ์กระตุ้นให้ลำไส้บีบตัว ช่วยให้ระบาย

ขนาดและวิธีใช้

ผู้ใหญ่ ครั้งละ 1-2 ช้อนโต๊ะ เด็กครั้งละ 1-2 ช้อนชา ควรให้พร้อมน้ำผลไม้ วันละครั้ง ก่อนอาหารเช้า

ยากลุ่มเกลือแมกนีเซี่ยม - Magnesium Salts

ข้อบ่งใช้

ช่วยเพิ่มปริมาณของน้ำในลำไส้ ทำให้เกิดการระบาย

ประเภทยา

1. ดีเกลือ (Magnesium sulfate) เป็นผง บรรจุ 30 กรัม

2.ยาระบายแมกนีเซีย (Milk of Magnesia/MOM)

3.มิสต์แอลบา (Mist. Alba)

ขนาดและวิธีใช้

1. ดีเกลือ 15-30 กรัม ผสมน้ำอุ่น กินก่อนนอน หรือหลังให้ยาถ่ายพยาธิตัวตืด 2 ชม.หรือหลังทำให้อาเจียนหรือ

ล้างท้อง ในรายที่กินยาพิษ ช่วยเร่งขจัดพิษของยาพิษ

2. มิสต์แอลบา, ยาระบายแมกนีเซีย 1-2 ช้อนโต๊ะ กินก่อนนอน ควรดื่มน้ำตาม 1-2 แก้ว

ข้อควรระวัง

1. ถ้าให้ยามากไป อาจทำให้ถ่ายท้องรุนแรง มีอาการขาดน้ำได้ ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี

2. ยานี้อาจถูกดูดซึมเข้าร่างกาย เกิดพิษต่อหัวใจและไตได้ ห้ามใช้ในคนที่เป็นโรคไตและโรคหัวใจ

ข้อห้ามใช้

ด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี

- โรคไต

- โรคหัวใจ

Senna เซนนา

ข้อบ่งใช้

เป็นสารเซนโนไซด์ (sennosides) เตรียมจากใบ และฝักมะขามแขก

มีฤทธิ์กระตุ้นลำไส้ ให้เกิดการบีบตัวเช่นเดียวกับน้ำมันละหุ่ง (ย16.1) และไบซาโคดิล (ย16.3) มีข้อดีคือ เป็นสารธรรมชาติที่มีผลข้างเคียงน้อย

ประเภทยา

ชนิดเม็ด ใน 1 เม็ด มีสารเซนโนไซด์บี (sennoside B) 7.5 มก.

เซโนคอต (Senokot), คูนิเซน (Kunisen)

ขนาดและวิธีใช้

ผู้ใหญ่ ครั้งละ 2-4 เม็ด

เด็ก ครั้งละ 1-2 เม็ด

กินก่อนนอน เวลาต้องการถ่าย ยานี้จะออกฤทธิ์หลังกินแล้ว 6-12 ชั่วโมง

ข้อควรระวัง

1. อาจทำให้ปัสสาวะออกเป็นสีแดง ซึ่งไม่มีอันตราย

2. อาจทำให้มีอาการปวดท้อง

รายละเอียด

อาจใช้ใบ และฝักมะขามแขกตากแห้ง 1-2 กำมือ (3-10 กรัม) หรือใช้ฝัก 4-5 ฝัก ต้มกับน้ำดื่ม หรือใช้วิธีบดเป็น

ผงชงน้ำดื่ม หรือใช้ยาเม็ดมะขามแขกขององค์การเภสัชกรรม

ไบซาโคดิล – Bisacodyl

ข้อบ่งใช้

มีฤทธิ์ทำให้ลำไส้บีบตัว ช่วยให้ระบาย

ประเภทยา

มีชื่อทางการค้า เช่น ดัลโคแลกซ์ (Dulcolax), ไบแลกซ์ (Bilax), แลกซ์โคดิล (Laxcodyl) เป็นต้น

ขนาดและวิธีใช้

ผู้ใหญ่ กินครั้ง 1-3 เม็ด, เด็ก 1 เม็ด ก่อนนอน (ออกฤทธิ์หลังกินยา 6-12 ชั่วโมง) หรือเหน็บครั้งละ 1 เม็ด

เวลาต้องการถ่าย (ออกฤทธิ์หลังเหน็บ 15 นาที)

ข้อควรระวัง

1. ห้ามเคี้ยวหรือบด หรือกินร่วมกับยาลดกรด ทำให้เปลือกที่เคลือบยาไว้แตก ตัวยาอาจระคายกระเพาะได้

2. ถ้าใช้ขนาดมาก อาจทำให้ถ่ายท้องรุนแรง จนเกิดภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ได้

3. ถ้าเหน็บบ่อย อาจทำให้ทวารหนักอักเสบได้

รายละเอียด

ใบมะขามแขก, ยาดำ , น้ำมันสลอด ก็จัดอยู่ในยาถ่ายกลุ่มนี้

สารเพิ่มกากใย - Bulk forming agents

ข้อบ่งใช้

ช่วยเพิ่มกากใย (fiber) ในอุจจาระ ทำให้อุจจาระนุ่ม ขับถ่ายง่าย มีประโยชน์ในการป้องกันอาการท้องผูก

ริดสีดวงทวาร แผลปริที่ปากทวารหนัก และบรรเทาอาการของกลุ่มอาการลำไส้ไวต่อสิ่งเร้า

ประเภทยา

1. ซิลเลียม (Psyllium) ชนิดผง (เตรียมจากเมล็ดพืชที่ชื่อว่า "เทียนเกล็ดหอย" หรือ Plantago) มีชื่อยี่ห้อ

เช่น เมตามูซิล (Metamucil)

2. รำข้าว เช่น รำข้าวโอ๊ต (Oat bran)

เช่น เมตามูซิล

ขนาดและวิธีใช้

ผงซิลเลียม ครั้งละ 1 ซอง หรือ 1 ช้อนชา (7 กรัม) ผสมน้ำสุก 1 แก้ว กินวันละ 1-3 ครั้ง (เด็กลดขนาดลงครึ่งหนึ่ง)

รำข้าว ครั้งละ 1-2 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ หรือนมสด กินวันละ 2-3 ครั้ง

ควรดื่มน้ำอีก 1 แก้วตามด้วยทุกครั้ง

การออกฤทธิ์เต็มที่ อาจต้องกินติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน

ผลข้างเคียง

-

รายละเอียด

- อาจใช้เมล็ดแมงลัก แช่น้ำจนอิ่มตัว กินครั้งละ 1/4-1/2 ถ้วย วันละ 1-2 ครั้ง เพื่อเพิ่มกากใย ทำให้ขับถ่ายได้

ง่ายเช่นกัน

- การกินข้าวซ้อมมือ เมล็ดถั่วต่าง ๆ ผักและผลไม้ในปริมาณมาก ๆ ก็เป็นการเพิ่มกากใย ช่วยป้องกันอาการท้องผูกได้

แอลพี / ELP Emulsion Liquid Paraffin

ข้อบ่งใช้

เป็นยาน้ำ ได้จากน้ำมันปิโตรเลียม ไม่ถูกย่อย ไม่ถูกดูดซึม ช่วยหล่อลื่นลำไส้ ทำให้อุจจาระนุ่ม ลื่น ผ่านได้สะดวกเหมาะสำหรับผู้ป่วยท้องผูกประจำและผู้ป่วยหัวใจวาย หรืออัมพาตที่ไม่ต้องการให้เบ่งอุจจาระ ริดสีดวงทวาร และแผลปริที่ปากทวารหนัก

ขนาดและวิธีใช้

ผู้ใหญ่ 1-3 ช้อนโต๊ะ, เด็ก 1/2 - 1 ช้อนโต๊ะ ก่อนนอน

ข้อควรระวัง

1. ยานี้อาจทำให้ลดการดูดซึมวิตามินเอ, ดี ,อี และ เค ไม่ควรใช้เป็นประจำ อาจทำให้ขาดวิตามินเหล่านี้ได้

2. ต้องระวังอย่าให้สำลักยานี้ อาจทำให้ปอดอักเสบได้ (aspirated lipid pneumonia)

รายละเอียด

น้ำมันมะกอก น้ำมันเมล็ดฝ้าย ก็จัดเป็นยากลุ่มนี้

Thailabonline.com

Laxative

From Wikipedia, the free encyclopedia

Jump to: navigation, search

Laxatives are foods, compounds, or drugs taken to induce bowel movements, most often taken to treatconstipation. Certain stimulant, lubricant, and saline laxatives are used to evacuate the colon for rectal and bowel examinations. They are sometimes supplemented by enemas. Laxatives are often abused by people withbulimia nervosa or anorexia nervosa. Laxative abuse is potentially serious since it can lead to intestinal paralysis,[//citation needed//] Irritable Bowel Syndrome (IBS),[//citation needed//] pancreatitis,[//citation needed//] renal failure,[1][2] and other problems.

There are several types of laxatives, listed below. Some laxatives combine more than one type of active ingredient to produce a combination of the effects mentioned. Laxatives may be oral or in suppository form.

Constipation with no known organic cause, i.e. no medical explanation, exhibits gender differences inprevalence: females are more often affected than males.[3] Not surprisingly, some advertisers promote their brands as being more feminine and thereby tailor their message to the market. The way laxatives function in males and females, however, does not exhibit significant differences.

Contents

1 Bulk-producing agents

2 Stool softeners / Surfactants

3 Lubricants / Emollient

4 Hydrating agents (osmotics)

4.1 Saline

4.2 Hyperosmotic agents

5 Stimulant / Irritant

5.1 Castor oil

6 Other

7 References

8 External links

Bulk-producing agents

  • Site of Action: Small and large intestine

  • Onset of Action: 12 - 72 hours

Also known as bulk-forming or bulking agents, these include dietary fiber. Bulk-producing agents cause the stool to be bulkier and to retain more water, as well as forming an emollient gel, making it easier for peristaltic action to move it along. Examples: psyllium husk (Metamucil), methylcellulose (Citrucel), polycarbophil,apples. They should be taken with plenty of water. Bulk-producing agents have the gentlest of effects among laxatives and can be taken just for maintaining regular bowel movements.

Stool softeners / Surfactants

  • Site of Action: Small and large intestine

  • Onset of Action: 12 - 72 hours

These cause water & fats to penetrate the stool, making it easier to move along. Many of these quickly produce a tolerance effect and so become ineffective with prolonged use. Their strength is between that of the bulk producers and the stimulants, and they can be used for patients with occasional constipation or those with anorectal conditions for whom passage of a firm stool is painful. Stool softeners include docusate (Colace, Diocto).

Lubricants / Emollient

  • Site of Action: Colon

  • Onset of Action: 6 - 8 hours

These simply make the stool slippery, so that it slides through the intestine more easily. An example is mineral oil, which also retards colonic absorption of water, softening the stool. Mineral oil may decrease the absorption of fat-soluble vitamins (A, D, E and K).

Hydrating agents (osmotics)

These cause the intestines to concentrate more water within, softening the stool. There are two principal types, saline and hyperosmotic. Examples: Milk of Magnesia, Epsom salt.

Saline

  • Site of Action: Small and large intestine

  • Onset of Action: 0.5 - 6 hours

Saline laxatives attract and retain water in the intestinal lumen, increasing intraluminal pressure and thus softening the stool. They will also cause the release of cholecystokinin, which stimulates the digestion of fat and protein. Saline laxatives may alter a patient's fluid and electrolyte balance. Examples: Dibasic sodium phosphate,magnesium citrate, magnesium hydroxide (Milk of magnesia), magnesium sulfate, monobasic sodium phosphate, sodium biphosphate. Sulfate salts are considered the most potent.

Hyperosmotic agents

  • Site of Action: Colon

  • Onset of Action: 0.5 - 3 hours

Hyperosmotic laxatives include Glycerin suppositories and Lactulose. Lactulose works by the osmotic effect, which retains water in the colon, lowering the pH and increasing colonic peristalsis. Lactulose is also indicated in Portal-systemic encephalopathy. Glycerin suppositories work mostly by hyperosmotic action, but also the sodium stearate in the preparation causes local irritation to the colon. According to trials,Polyethylene glycol was found to be more effective than lactulose. [1]

Solutions of polyethylene glycol and electrolytes (sodium chloride, sodium bicarbonate, potassium chloride, and sometimes sodium sulfate) are used for whole bowel irrigation, a process designed to prepare the bowel for surgery or colonoscopy and to treat certain types of poisoning. Brand names for these solutions include GoLytely, GlycoLax, CoLyte, NuLytely, and others.

Stimulant / Irritant

  • Site of Action: Colon

These stimulate peristaltic action and can be dangerous under certain circumstances. Stimulant laxatives act on the intestinal mucosa, or nerve plexus; they also alter water and electrolyte secretion. They are the most severe among laxatives and should be used only in extreme conditions. Castor oil may be preferred when more complete evacuation is required.

Examples:

Castor oil

  • Site of Action: Small intestine

Castor oil acts directly on intestinal mucosa or nerve plexus and alters water and electrolyte secretion. It is converted into ricinoleic acid (the active component) in the gut.

Other

Tegaserod is a motility stimulant that works through activation of 5-HT4 receptors of the enteric nervous system in the gastrointestinal tract.

References

  1. **^** Copeland P (1994). "Renal failure associated with laxative abuse". Psychother Psychosom 62 (3-4): 200-2. PMID 7531354.

  2. **^** Wright L, DuVal J (1987). "Renal injury associated with laxative abuse". South Med J 80 (10): 1304-6.PMID 3660046.

  3. **^** Chang L, Toner B, Fukudo S, Guthrie E, Locke G, Norton N, Sperber A (2006). "Gender, age, society, culture, and the patient's perspective in the functional gastrointestinal disorders". Gastroenterology 130(5): 1435-46. PMID 16678557.

http://en.wikipedia.org/wiki/Laxative