ACEI ARB

PART1 : ACE inhibitor and ARB

Angiotensin Converting enzyme inhibitor และ Angiotensin receptor blockers

การออกฤทธิ์

ACEI :ยั้งยั้ง ACE ลดการผลิตฮอร์โมน Angiotensin II เป็นฮอร์โมนที่มีผลทำให้เส้นเลือดแดงหดตัวและทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น

ARB : ขัดขวางการทำงานของ angiotensin II receptor การออกฤทธิ์คล้ายกับ ACEI แต่ผลข้างเคียงน้อยกว่า โดยเฉพาะอาการไอ

ข้อบ่งชี้ ACEI & ARB

ลดความดันโลหิตสูง ข่วยการทำงานหัวใจและกล้ามเนื้อปอด

จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน จะทำให้อัตราการการเกิดหัวใจล้มเหลวและการเสียชีวิตลดลงมากกว่ายาลดความดันโลหิตชนิดอื่น

ช่วยป้องกันการเกิดโรคไตและโรคไตวายด้วย

เป็นยาหลัก ในการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจ หลอดเลือด และโรคไตเรื้อรัง

เนื่องจาก ช่วยป้องกัน ชลอความเสีื่อม ลดอัตราป่วยและเสียชัวิต

ตัวอย่าง ACEI

Captopril (Capoten12.5,25 1*3pc)

Enalapril (Enaril5,20 1*1pcm)

Ramipril (Tritace 2.5,5,10mg 1*1 pcm)

ตัวอย่าง ARB (Angiotensin receptor blockers/ Angiotensin II receptor antagonists)

Lorsartan(50mg)(Fortzaar100/25mg 0.5t*1pcm, Cozzar50mg)

Candesartan(Blopress8mg 1*1pcm)

Telmisartan(Twynsta40mg/5mg)

Irbesartan(Aprovel300mg)

Valsartan(Diovan80,160,320mg)

*telmisartan ลดความดันดีกว่าเล็กน้อย Valsartan แต่ไม่มีนัยสำคัญ ผลป้องกันไตเสื่อมพอกัน แต่ราคา telmi.แพงกว่ามาก

การใช้ยา ARB

US FDA ทุกตัวมีข้อบ่งชี้ ในการรักษาความดันโลหิตสูง ได้

ยาแต่ละตัวต่างกันที่ การป้องกันหรือชะลอ target organ damage

เช่น

ยา losartan มีข้อบ่งชี้ ในการรักษา severe hypertension, prevention of ESRD in type 2 diabetic nephropathy, และ

prevention of stroke in hypertensive patients with left ventricular hypertrophy

แต่ไม่มีข้อบ่งชี้ ในการรักษา prevention of progression in type 2 diabetic nephropathy (irbesartan),

heart failure (valsartan, candesartan) หรือ

intolerant to ACEI (valsartan, candesartan), และ

prevention of cardiovascular events in high-risk hypertensive patients (telmisartan).

Losartan50/100 vs telmisartan40/80 t.ดีกว่าในการลดความดันที่ 6 ชั่วโมงหลังของ 24 hr

http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/12900588

ผลข้างเคียง

ความดันตก วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก

Hyperkalemia,

ไม่ควรใช้คนท้อง

Ref.

https://hypertension4gened.wordpress.com/2009/09/07/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AD-angiotensin-converting-enzyme-inhibitors-ace-inhibitor-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0-angiotensin-receptor-blockers-arb/

http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=10795&gid=1

http://www.med.cmu.ac.th/dept/pharmaco/LearningCenter/Supanimit/02FM%20Inhibitors%20of%20RAS-3.pdf

http://www.thaihypertension.org/files/231.Hypertension%20Management%20in%20the%20Economic%20Constrain%20Era.pdf

PART 2 DUAL Blockade : ACEI and ARB

การใช้ยา ร่วมกัน

1.Hypertension : ไม่ค่อยมีประโยชน์

-ใช้ 2 ตัวร่วมกัน ลดความดันลงได้อีก แต่ไม่มาก เมื่อเทียบกับ ใช้คู่กับยากลุ่มอื่นๆ

-แต่จะเพิ่ม adverse event ให้สูงขึ้น เช่น เป็นลมง่าย ท้องเสีย Kสูง เกิดacute renal impairment

-ตัวอย่าง 30% เกิด syncope, hypotensive events ขึ้นหากใช้ยาคู่กัน

2.CHF : มีประโยชน์ บางกรณี

-ใช้ 2 ตัวร่วมกัน

แนะนำเฉพาะกรณี ที่ CHF มี ejection fraction <40% รักษาด้วย ACEI แล้วยังมีอาการ CHF

ให้ยา ARB เพิ่มได้ กรณีปกติไม่แนะนำให้ใช้

3.ischemic heart disease : ไม่ค่อยมีประโยชน์

การใช้ร่วมไม่ช่วยลดอัตราการเสียชีวิต

4.ไตเรื้อรัง : มีประโยชน์

การใช้ยาร่วม อาจชะลอความเสิื่อมได้ดีกว่าตัวเดียว ลด proteinuria ได้ และ เกิด CRF ลดลง

5.diabetic kidney disease : ไม่ค่อยมีประโยชน์

ลด ชะลอการเกิด macroalbuminuria ได้ดี ในกลุ่มที่เป็น DM with microalbuminemia

โดยการใช้ยา 2 ตัวร่วมกัน จะดีกว่า การให้ตัวใดตัวหนึ่งในขนาดที่สูง

6.non diabetic renal disease

ลดปริมาณ proteinuria ได้ผลดี หากใช้ 2 ตัวดีกว่าตัวเดียว และดีมากด้วย

ข้อควรระวังการใช้ยาร่วมกัน

1.Hypotension โดยเฉพาะกรณีที่ ไม่มีความดันสูงอยู่ก่อน

2.GFR ลดลง ต้องลดลงไม่เกิน 15-30% การใช้ร่วมต้องระวังการเกิด acute renal injury มักสัมพันธ์กับ hypotension

3.hyperkalemia ระวังในผู้ที่มี K สูงอยู่แล้ว ปกติอาจทำให้สูงขึ้น 0.1-0.19 mEq/L เมื่อเทียบกับให้ตัวเดียว

Ref.

http://www.thaihypertension.org/files/140.Midyear_document.pdf