Dopamine

Dopamine HCL

ตัวอย่างการให้

Dopamine (1:1)

Sig. iv drip 5mcd/min

ปรับเพิ่ม- 30 mcd/min

Dopamine (2:1)

Sig. IV drip 10mcd/min keep BP ≥ 90/60 mmHg

Titrate ทีละ 2mcd/min q 30 min

Sig. IV drip 15mcd/min keep BP ≥ 90/60 mmHg

High alert drugs”(สีแดง)

เขียน กันพลาด DOPAmineกับ doButamine

การผสม

ระบุ Dopamine mg:ml เช่น 1:1 หรือ 2:1 Drip เป็น microdrop/min

ไม่ควรให้สูงกว่า 20mcg/kg/min แต่ Max ≤40mcg/kg/min

- Dopamine 1:1 = Dopamine 1 mg ต่อสารน้ำ 1 ml

ใช้ยา dopamine 250 mg/amp จำนวน 1 amp (5 ml) + D5W 250 ml หลังผสมอยู่ได้ 24 ชม.

- Dopamine 2:1 =Dopamine 2 mg ต่อสารน้ำ 1 ml

ใช้ยา dopamine 250 mg/amp จำนวน 2 amp (10 ml) +D5W 250 ml หลังผสมอยู่ได้ 24 ชม.

เริ่มให้ทางหลอดเลือดดำในอัตรา 1-5 mg/kg/min สามารถปรับเพิ่มขึ้นช้าๆได้ไม่เกิน 5 mg/kg/min ทุก 15-30 นาที

สารละลายที่สามารถผสมเข้ากันได้: D5W,D10W, D5S/2, D5S, NSS, LR

ห้ามผสมร่วมกับ alkaline solution (เช่น sodium bicarbonate )

ผสม

Dopamine 1:1

Amp 250 mg + สารน้ำ 250 ml = 1mcg/1ml

Dopamine 2:1

2 Amp 500 mg + สารน้ำ 250 ml = 1mcg/1ml

ขนาดที่ใช้ เท่ากับ dobutamine เลย

Dopamine

1.เป็นยาที่ใช้ร่วมในการรักษาภาวะช็อค (เช่น MI, open heart surgery, renal failure, cardiac decompensation)

2.ใช้หลังการให้สารน้ำที่เหมาะสมแล้ว ต้องดูจำนวนน้ำในร่างกายก่อนว่าขาดหรือไม่

3.ใช้รักษาภาวะ bradycardia หรือ heart block ที่รักษาด้วย atropine หรือ pacing ไม่ได้ผล

ขนาดและวิธีการบริหารยาโดยทั่วไป

• เด็ก : 1 – 20 mcg/kg/min ขนาดสูงสุด 50 mcg/kg/min

• ผู้ใหญ่ : 1 – 5 mcg/kg/min อาจให้ได้ถึง 20 mcg/kg/min (maximum: 50 mcg/kg/min)

• อาจเพิ่มได้ 1 – 4 mcg/kg/min ในช่วง 10 ถึง 30 นาที จนกระทั่งมีการตอบสนอง

• หากขนาดที่ใช้สูงกว่า 20-30 mcg/kg/min ควรคำนึงถึงการใช้ adrenaline หรือ norepinephrine

• ในกรณีที่ต้องใช้ขนาดยาเกิน 50 mcg/kg/min ต้องตรวจสอบ urine output บ่อยๆ หาก urine flow ลดลงควรพิจารณาปรับลดขนาดที่ใช้ลง

Dose

1.Low dose : 1 – 3 mcg/kg/min เพิ่ม renal blood flow

2.Intermediate dose : 3-10 mcg/kg/min เพิ่ม renal blood flow เพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ การ

บีบตัวของหัวใจ และ cardiac output

3.High dose : > 20 mcg/kg/min หลอดเลือดหดตัว เพิ่มความตันโลหิต

การออกฤทธิ์

กระตุนทั้งตัวรับ alpha และ beta adrenergic

-ทำใหหลอดเลือดสวนปลายตีบ

-เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปสูอวัยวะในชองทอง

ผลการออกฤทธิ์ของยาจะขึ้นกับยาขนาดของยาที่ให

ดังนี้

1. ขนาดของยาต่ำ (1 - 3 mcg/kg/min)

-ทําใหเลือดไปเลี้ยงไตและอวัยวะในชองทองมากขึ้น ปสสาวะจึงออกดีขึ้น

2. ขนาดของยาปานกลาง (3-10 mcg/kg/min)

-กระตุนที่ตัวรับเบตามากกวา ทํ าใหมีแรงบีบตัวของหัวใจ

-แตไมเพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ ความดันโลหิตสูงขึ้น

3. ขนาดของยาสูง(มากกวา 20 mcg/kg/min

-กระตุนที่ตัวรับแอลฟามากขึ้น

-ทำใหหลอดเลือดที่ไตหดตัว ปสสาวะจึงนอยลง

ภาวะแทรกซ้อน และควรติดคามหลังให้

1.Heart rate(แจ้งแพทย์เมื่อ HR>100-120 bpm) หยุดยาหรือลดขนาด

2.Blood pressure (แจ้งแพทย์เมื่อ BP>140/90 mmHg,<90/60)

3.อัตราการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ , ใจสั่น เจ็บหน้าอก ปวดเค้นหน้าอก(VT,VF,frequent PVC)

4.คลื่นไส้,อาเจียน

5.vasoconstriction ที่ไตทำให้ปัสสาวะออกน้อย

Ref.

https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=4&cad=rja&uact=8&ved=0CD0QFjAD&url=http%3A%2F%2Fwww.srbr.in.th%2FPharmacy%2FWeb_Saraburi%2FHigh%2520Alert%2520Drugs%2F04-Dopamine.doc&ei=90YqU47iA4KmrQeh-oDwCQ&usg=AFQjCNFbC_XF1alSL_KLWC_5xudSrDfFoA&bvm=bv.62922401,d.bmk

http://www.med.cmu.ac.th/hospital/dis/2011/index.php?option=com_content&view=article&id=7:dopaminehad&catid=6:high-alert-drug&Itemid=4

http://www1.si.mahidol.ac.th/km/sites/default/files/P_Dopamine.pdf

http://www.nanhospital.go.th/pdf_pharm/Dopamine%20injection.pdf

http://www1.si.mahidol.ac.th/km/sites/default/files/P_Dobutamine.pdf

http://www1.si.mahidol.ac.th/km/sites/default/files/P_norepinephrine.pdf

ดูตารางการผสมยาจากไฟล์ด้านล่าง