Neonatal Hyperbilirubinemia

ภาวะตัวเหลืองในเด็กทารกแรกเกิด

สาเหตุ

2 กลุ่ม

1. Unconjugated hyperbilirubinemia มีสาเหตุที่พบบอย ไดแก

1.1 การสราง bilirubin เพิ่มขึ้น

-ภาวะ hemolysis เชน

ABO, Rh , minor blood group incompatibility

G6PD deficiency

-การมีเลือดออกในรางกาย เชน

cephalhematoma หรือ hematoma ในบริเวณอี่น หรือ เลือดออกในลําไส

-มีภาวะเลือดขน (polycythemia)

1.2 enterohepatic circulation เพิ่มขึ้น

-การงดอาหาร

-กินได้น้อย เช่น ไม่ค่อยดูด น้ำนมแม่ไม่ค่อยมี

-Bowel ileus, gut obstruction

1.3 ตับขจัด bilirubin ไดนอย

-prematurity

-G6PD difficiency

-Inborn error of metabolism

เชน Crigler-Najjar, Gilbert’s syndrome, Galactosemia

-Hypothyroidism

-Sepsis

2.Conjugated hyperbilirubinemia

2.1 นอกตับ

เช่น biliary atresia, choledochal cyst

2.2 ในตับ

เช่น neonatal hepatitis, congenital infection (TORCH) เปนตน

การรักษา

การส่องไฟ

ข้อบ่งชี้

1) ในทารกที่อายุครรภ 35 สัปดาหขึ้นไป

พิจารณาตาม

-อายุครรภทารกอายุหลังเกิดเปนชั่วโมง

-ปจจัยเสี่ยงของทารก

แบ่ง 3 กลุ่ม

1.เสี่ยงต่ำ ดูเส้นจุด

GA >= 38 wk และ แข็งแรงดี

2.เสี่ยงปานกลาง ดูเส้นประ

GA = 35-37+6 wk และ แข็งแรงดี

GA >= 38 wk และ มี risk factors

3.เสี่ยงสูง ดูเส้นทึบ

GA = 35-37+6 wk และ มี risk factors

Risk factors ไดแก

-isoimmune hemolytic disease (ABO, Rh, minor blood group incompatibility), -G6PD deficiency,

-asphyxia (Apgar score ที่ 5 นาที < 7 หรือ มีอาการเชน hypoxic ischemic encephalopathy, renal impairment),

-significant lethargy.

-temperature instability,

-sepsis,

-acidosis,

-albumin < 3.0 g/dL

2) ในทารกอายุครรภนอยกวา 35 สัปดาหหรือน้ําหนักตัวนอย

ระดับ serum bilirubin ที่ควรเริ่มใหการรักษาในทารกทารกคลอดกอนกําหนดหรือน้ําหนักตัวนอย น้ําหนักตัว (กรัม)

การรักษา

Phototherapy ควรเริ่มเมื่อ

ระดับ serum bilirubin อยูที่ 50-70% ของระดับในตาราง

Exchange transfusion ควรทําเมื่อ

-ระดับ serum bilirubin สูงกวา ระดับในตาราง

-phototherapy ไม่สามารถลดให้ต่ำกว่าระดับในตารางได้

-มีอาการ bilirubin encephalopathy