Clostidium perfringens

CLOSTIDIUM PERFRINGENS FOOD INTOXICATION

(C. welchii food poisonig, Enteritis necroticans, Pigbel)

QxDx

1.กืนอาหารอุ่นซ้ำ ประเภทเนื้อสัตว์

2.ปวดเกร็ง ท้องเสีย คลื่นไส้ มักไม่อาเจียน ไม่ไข้

QxRx:

รักษาตามอาการ

สาเหตุ

เกิดจาก C.perfrigens type A (C.welchii) เป็นสาเหตุของการระบาดของการระบาดที่มีลักษณะเฉพาะ

type C เป็นสาเหตุของ Enteritis necroticans โรคเกิดจากพิษที่เชื้อปล่อยออกมา

คุณสมบัติ

เชื้อ

เป็น anaerobic gram positive rod สร้างสปอร์และสารพิษได้

-เติบโตโดยไม่ใช้ oxygen อุณหภูมิเหมาะสม 3-45oc

เชื้อพบในได้ ดิน น้ำ ทางเดินอาหารคนและสัตว์(อุจจาระ) หากปนเข้าอาหารทำให้เชื้อเจริญขึ้นได้

สปอร์ ทนแล้ง-ทนร้อนดีมาก 100 oc สปอร์ก็ทนได้

พบได้ในฝุ่น ควัน ปะปนอาหารแห้ง เครื่องเทศ

สารพิษ

ถูกทำลายที่ 60oC 10 นาที ดังนั้นต้องอุ่นให้ร้อนจัดจึงดี

แหล่งสำคัญ

อาหารที่มีเนื้อสัตว์เป็นส่วนประกอบ เนื้อ ไก่ ปลา หมู พร้อมทาน สมุนไพร เครื่องเทศ อาหารแห้ง

ร้านที่ต้องเตรียมอาหารทิ้งไว้นาน

อาการ

ปวดเกร็งท้อง ตามด้วย ท้องร่วง คลื่นไส้ แต่ ไม่ไข้ไม่อาเจียน

เริ่มเป็น 8-24 ชั่วโมงหลังกิน 10-12 ชั่วโมง

การปวดท้อง จะเป็นแบบปวดเกร็ง ตามด้วย อุจจาระร่วง

ลักษณะอุจจาระ แรกๆ อุจจาระมีเลือดเก่าหรือสีน้ำหมาก

ความรุนแรง

ไม่รุนแรง ไม่ค่อยพบการตายในผู้ที่มีสุขภาพดี

ระยะดำเนินโรค

มักไม่เกิน 1 วัน

การระบาด

ของโรคที่รุนแรงที่มีอัตราป่วยตายสูง พบร่วมกับโรคลำไส้อักเสบและลำไส้เน่า (Enteritis necroticans)

มีบันทึกในอดีต

-ประเทศเยอรมันหลังสงครามและในประเทศปาปัวกีนี

-บริเวณค่ายอพยพที่ชายแดนตะวันออกของประเทศไทย

การวินิจฉัยโรค

-ทำการเพาะเชื้อ C.perfringens

จากตัวอย่างอาหารแบบ Semiquantitative anaerobic อาหาร (> 105กรัม)

และในอุจจาระผู้ป่วย (> 106/กรัม) ร่วมด้วยหลักฐานทางคลินิกและระบาดวิทยา

-การทำ serotyping จะพบ serotype ชนิดเดียวกัน จากสิ่งส่งตรวจที่ต่างกัน

-การทำ serotyping ทำเป็นประจำเฉพาะในญี่ปุ่นและสหราชอาณาจักรเท่านั้น

C. perfringens

-type A (C.welchii) เป็นสาเหตุของการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษที่มีลักษณะเฉพาะ

*type C เป็นสาเหตุของ Enteritis necroticans โรคเกิดจากพิษที่เชื้อปล่อยออกมา

วิธีติดต่อ

มักเกิดจากอาหารที่มีเนื้อสัตว์เป็นส่วนประกอบ ที่ปรุงเก็บก่อนมาอุ่นกินในวันรุ่งขึ้น

เชื้อจะเจริญได้รวดเร็ว ขณะที่อาหารกำลังอุ่นๆ อุณหภูมิ 15-55oC ดีที่สุดที่ 45oc

เช่น สตู เนื้อ หรือไก่

การระบาดของโรค

พบได้ทั่วไป และ พบบ่อยในประเทศที่มีการเตรียมอาหารที่มีปัจจัยส่งเสริม

ในไทย อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษมีแนวโน้มสูงขึ้น

มีรายงานระบุเชื้อก่อโรคเพียงร้อยละ0.1-6

พบเชื้อC.perfrigens ร้อยละ 2 ของจำนวนที่รายงานระบุเชื้อก่อโรค

การรักษา

รักษาตามอาการ

มักกินได้เนื่องจากผู้ป่วยไม่ค่อยอาเจียน เหมือนโรคอื่นๆ

หากความดันต่ำให้ ให้สารน้ำทางเส้นเลือด

กรณี ที่มีลำไส้เน่าต้องให้ยาปฏิชีวนะ นาน 14 วัน

-ampicillin 100 มก/กก/วัน

-gentamycin 2-5 มก/กก/วัน

-metronidazole 30 มก/กก/วัน

และพิจารณาผ่าตัดเมื่อมีข้อบ่งชี้

การป้องกัน

แช่เย็นอาหารให้เร็วหลังทำ ทำ-อุ่นอาหารให้ร้อน